วันศุกร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ការបោះបង់ចោលអង្គរ


បន្ទាប់ពីសង្គ្រាមជាបន្តបន្ទាប់ជាមួយនគរជិតខាង អង្គរត្រូវបានឆក់ប្លន់បំផ្លិចបំផ្លាញដោយនគរអយុធ្យានិងបានបោះបង់ចោលនៅឆ្នាំ១៤៣២ ពីព្រោះតែការថមថយខាងបរិស្ថានវិទ្យានិងហេដ្ឋារចនាសម្ព័ន្ធត្រូវបានខូចខាត។ ហេតុនេះបាននាំទៅដល់សម័យនៃដំណើរនឹងទ្រឹងខាងសេដ្ឋកិច្ច សង្គមនិងវប្បធម៌ កិច្ចការផ្ទៃក្នុងរបស់នគរនេះបានទៅជាស្ថិតនៅក្រោមការគ្រប់គ្រងត្រួតពិនិត្យនៃពួកអ្នកជិតខាងខ្លួនទៅវិញ។ នៅពេលនោះ ការនិយមរបស់ខ្មែរចំពោះការសាងសង់បូជនីយដ្ឋានត្រូវបានបញ្ឈប់។ ជំនឿចាស់ៗពីមុនៗដូចជាព្រះពុទ្ធសាសនាមហាយាន និងព្រហ្មញ្ញនិងលទ្ធិទេវរាជត្រូវបានជំនួសដោយពុទ្ធសាសនាថេរវាទជារៀងរហូតមក។

អធិរាជាណាចក្រខ្មែរ


អធិរាជាណាចក្រខ្មែរគឺជាអធិរាជាណាចក្រដ៏ធំបំផុតរបស់អាស៊ីអាគ្នេយ៍កំឡុងសតវត្សទី១២។ មជ្ឈមណ្ឌលនៃអំណាចរបស់អធិរាជាណាចក្រនេះគឺអង្គរជាទីដែលរាជធានីបន្តបន្ទាប់ត្រូវបានសាងសង់ឡើងក្នុងសម័យកាលដែលឈានដល់ចំណុចកំពូលរបស់ចក្រភព។ នៅឆ្នាំ២០០៧ ក្រុមអ្នកស្រាវជ្រាវអន្តរជាតិមួយប្រើរូបថតផ្កាយរណបនិងបច្ចេកទេសទំនើបផ្សេងៗធ្វើការសន្និដ្ឋានថាអង្គរធ្លាប់ជាទីក្រុងបុរេឧស្សាហកម្ម​ធំបំផុតក្នុងលោកជាមួយនិង​ការលាត​សន្ធឹងក្រុង ១១៥០ម៉ាយការ៉េ។ ទីក្រុងនេះ អាចទ្រទ្រង់បាននូវអត្រាប្រជាជនរហូតដល់ចំនួនមួយលាននាក់ និងអង្គរវត្តជាប្រាសាទបែបសាសនាល្បីល្បាញបំផុតនិងគង់វង្សបានយូរល្អបំផុតនៅក្នុងស្ថានីយ៍នោះ នៅតែប្រើជាវត្ថុរំលឹកដល់អតីតកាលរបស់កម្ពុជាជាមហាអំណាចតំបន់ដ៏សំខាន់មួយ។ ទោះបីជា អាណាចក្រខ្មែរបាន ចុះអន់ថយឥទ្ធិពលរបស់ខ្លួនក៏ដោយ ក៏អង្គរវត្តគឺជានិមិត្តរូបមួយសំខាន់ បំផុតដើម្បីជាសាក្សី នៃសាវតារបស់ប្រទេស លើផ្ទៃតំបន់។

วันพฤหัสบดีที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ការបាក់បែកបន្ទាយលង្វែក


ខ្មែរ បានលើកទ័ពមកវាយខ្មែរជាច្រើនលើកច្រើនសា។នៅឆ្នាំ១៥៨៨ សៀមបានលើកទ័ពចូលទន្ទ្រានខ្មែរយ៉ាងកម្រោល ហើយបានវាយយកបន្ទាយមានជ័យ បាត់ដំបង ពោធិ៍សាត់ រហូតដល់ស្រុកបរិបូរណ៍ ព្រមទាំងហ៊ុមព័ទ្ធបន្ទាយលង្វែកទៀតផង។ ពួកវាព័ទ្ធបន្ទាយលង្វែកអស់រយៈពេល៣ខែ‌តែត្រូវនៅឆ្នាំ១៥៨០ ភូមាបានវាយលុកចូលប្រទេសសៀមយ៉ាងខ្លាំង

วันจันทร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2556

ចរិត ៦

ចរិត គឺការប្រព្រឹត្តិ

១. រាគចរិត = ចរិតក្នុងរាគកាម
២. ទោសចរិត = ចរិតក្នុងកំហឹង
៣. មោហចរិត = ចរិតក្នុងវង្វេង
៤. វិតក្កចរិត = ចរិតក្នុងតំរិះ
៥. សទ្ឋាចរិត = ចរិតក្នុងជំនឿ
៦. ពុទ្ឋិចរិត = ចរិតក្នុងចំណេះ

วันอังคารที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2556

មហា​ត្មៈ គន្ធី


មហា​ត្មៈ គន្ធី នាម​ជា​រដ្ឋបុរស​នៃ​ប្រទេស​ឥណ្ឌា ហើយ​ដែល​ពិភពលោក​ធ្លាប់​បាន​ទទួលស្គាល់​ជា​ទូទៅ ។ លោក​មាន​ឈ្មោះ​ពេញ​ថា មហា​ត្មៈ កា​រ៉ា​ម​ច័ន្ទ គន្ធី ជា​ជនជាតិ​ហិណ្ឌូ កើត​នៅ​ថៃ្ង​ទី​១​ខែតុលា​ឆ្នាំ ១៨៦៩ នៅឯ​ទីក្រុង​តូច​មួយ​ឈ្មោះ ខាត់តេ​វាស នៃ​មណ្ឌល​មុម​បៃ​(​បុប​បៃ​) ជា​កូនពៅ​គេ​បង្អស់​ក្នុងចំណោម​បងប្អូន​៤ នាក់​នៃ​ត្រកូល​អភិជន ។ ប៉ុន្តែ​ត្រកូល​អភិជន​នៃ​គ្រួសារ​នេះ មិនសូវ​រឹងមាំ​ដូច​អភិជន​ដទៃទៀត​ឡើយ អាស្រ័យ​ហេតុនេះ​ហើយ​ជីវិត​នៅ​យុវវ័យ មហា​ត្មៈ មិនសូវ​ទទួល​បានកា​រ​រៀនសូត្រ​យ៉ាង​ហ្មត់ចត់​

วันอังคารที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2556

សម្ដេច​បវរសេដ្ឋា សឺន សាន


ប្រវត្តិ
សម្ដេច​បវរសេដ្ឋា សឺន សាន ប្រសូត្រ​នៅ​ថ្ងៃ​ទី​០៥ ខែ​តុលា ឆ្នាំ​១៩១១ នៅ​សង្កាត់​លេខ ៥ រាជ​ធានី​ភ្នំពេញ ប្រទេស​កម្ពុជា។ បិតា​របស់​លោក​នាម សឺន សាច់ (Son Sach) ហើយ​មាន​មាតា​នាម នាង សន (Neang San)។ បិតា​របស់​លោក​គឺ​ជា​ពូជ​ពង្ស​វង្ស​ត្រកូល​ជំនាន់​ក្រោយ​របស់​ឧកញ៉ា​សេនាបតី សឺន គុយ ដែល​ជា​វីរ​បុរស​ខ្មែរ​កម្ពុជា និង​ជា​អតីត​ចៅហ្វាយ​ស្រុក​ព្រះត្រពាំង (បច្ចុប្បន្នខេត្ត​ព្រះត្រពាំង ដែល​ត្រូវ​បាន​កាត់​បញ្ជូល​ទៅ​ក្នុង​ប្រទេស​វៀតណាម)។ ​លោក​បាន​ពលី​ជីវិតរបស់​លោក​ ដោយ​ឲ្យ​យួន​កាត់​ក្បាល​ជា​ថ្នូរ​នឹង​ការ​ថែ​រក្សា​ជំនឿ​ព្រះ​ពុទ្ធ​សាសនា​និកាយ​ថេរវាទ​សម្រាប់​ជន​ជាតិ​ដើម​ខ្មែរ​ក្រោម​ទាំង​មូល​នៅ​កម្ពុជា​ក្រោម។

วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556

សម័យអាណានិគមបារាំង​

       ប្រទេសកម្ពុជា បានស្ថិតនៅក្រោមអាណានិគមនិយមបារាំង អស់ជិតមួយសតវត្សដោយ គិតចាប់ពីឆ្នាំ១៨៦៣ រហូតដល់ ពេលទទួលបានឯករាជ្យនៅឆ្នាំ១៩៥៣។ នៅឆ្នាំ១៨៦៣កម្ពុជា ក្រោមការគ្រប់គ្រងរបស់ព្រះបាទនរោត្តមបាន ប្រែជាប្រទេស ក្រោម អាណាព្យាបាលបារាំង។ នៅខែតុលា ១៨៨៧ ពួកបារាំង បានប្រកាសការបង្កើត Union Indochinoise (សហភាពឥណ្ឌូ ចិន)ដែលនៅពេលនោះបានបញ្ចូលកម្ពុជា គឺជាភាពជាម្ចាស់បារាំងស្វ័យតរួចរាល់ទៅហើយ

សម័យ​ ឧដុង្គ

បើតាមឯកសាររឿងព្រេងខែ្មរភាគ៥ របស់ក្រុមជំនុំទំនៀមទម្លាប់ ខែ្មរបញ្ជាក់ថា ទីក្រុងឧដុង្គចាប់កសាងឡើងក្នុងសតវត្សរ៍ទី១៧ក្នុង រជ្ជ កាលព្រះបាទសមេ្តចព្រះជ័យជេដ្ឋាទី២  ក្នុងពុទ្ឋសករាជ ២១៦៤នៃ គ្រិស្តសករាជ ១៦២០ ព្រះបាទ សមេ្តចព្រះជ័យជេដ្ឋា សេ្តចគង់នៅ ព្រះ រាជវាំងល្វាឯម ទ្រង់ បាននាំ សេនាបតី និងនាម៉ឺន សព្វមុខមន្រ្តីចុះព្រះ រាជទីនាំងនាវាសេ្តចយាងទៅប្រពាតនៅ តំបន់ អូរក្រុងលាយក្នុងខេត្ត សំរោងទង ទ្រង់ប្រថាប់នៅព្រះពន្លាជាយូរថៃ្ងរួចសេ្តចយាងទៅក្រសាល នៅតាដុងយាយ ជ័យទ្រង់ក៏ទតឃើញ ទីទួលមួយនៅតំបន់ស្រះកែវ ជាទីមានទេសភាពល្អក៏ ទ្រង់ចាប់ព្រះ ទ័យហើយទ្រង់មានព្រះតម្រាស់ ជាមួយមន្រ្តី មានហោធិបតីជាដើម ថា

សម័យ លង្វែក

ប្រទេសកម្ពុជាសម័យលង្វែកក្រោយពីរាជ្ជកាលព្រះបាទពញាយ៉ាត ព្រទេសកម្ពុជាកើតមានចម្បាំងជាច្រើនសា។រាធានីត្រូវ  បានផ្លាស់ប្តូរជាច្រើនកន្លែងវិលចុះវិលឡើងពីក្រុងអង្គរ ទូលបាសាន(កំពងចាម) ភ្នំពេញ (ចតុមុខ) លង្វែក(កំពង់ឆ្នាំង)។ក្នុងរាជ ព្រះអង្គចន្ទ រាជធានីតាំងនៅបន្ទាយមានជ័យ ខេត្តពោធិសាត់ រួចប្តូលមកក្រុងលង្វែកវិញ។ ព្រះបាទចន្ទរាជា ចន្ទរាជា ឬព្រះអង្គ  ចន្ទទី១ ជាអនុជពៅស្រីសុគន្ធបទ ឬជាបុត្រធម្មរាជា។ ពេលដែលស្តេចកន ធ្វើគត់ស្រីសុគន្ធបទនៅបន្ធាយស្ទឹងសែន១៩១២ អង្គចន្ទនៅក្រុងអយុធ្យានៅឡើយ។ក្នុងពេលធ្វើសង្គ្រាមជាមួយស្តេចកន មន្ត្រី និងរាស្រ្តសុំ អោយព្រះអង្គចន្ទឡើងសោយរាច្យ  ទ្រង់យល់ប្រម។ ទ្រង់ជាស្តេចមួយអង្គដ៏ល្បីល្បាញដែលបានរំដោះដីខ្មែរភាគខាងលិចពីសៀម។

សម័យ​ ចតុមុខ

  នៅឆ្នាំ១៤៣១ ព្រះបាទពញាយ៉ាត ទ្រង់បានលើករាជធានី ពីអង្គរ ទៅតាំងនៅ ទួលបាសាន ក្នុងខេត្តស្រីសឈរ (កំពង់ ចាម)វិញ។ តែ ដោយតំបន់នោះរងគ្រោះដោយទឹក ជំនន់ព្រះ  អង្គក៏បញ្ជាឲ្យលើក រាជធានីពី ទួលបាសានទៅតាំងនៅ ចតុ មុខវិញ។ ក្រោយពីការកសាង រាជធានីរួចរាល់ ព្រះរាជាទ្រង់ តាំងប្រទាននាមឲ្យព្រះនគរថា៖  ក្រុងចតុ មុខមង្គលសកល កម្ពុជាធិបតី សិរីធរ បវរឥន្ទបត្តបុរីរដ្ឋរាជសីមា មហានគរ។ 

យុគអន្ធកាលនៃកម្ពុជា ១៤៣៧ – ១៨៦៣

 យុគអន្ធកាលនៃកម្ពុជា គ្របដណ្ដប់លើប្រវត្តិសាស្ត្រខ្មែរពីសតវត្សទីដប់ប្រាំដល់សតវត្សទីដប់ប្រាំបួន ជាសម័យកាលនៃការ ធ្លាក់ចុះនិងការបាត់បង់ទឹកដី។ កម្ពុជាបានសម្បូរសប្បាយនូវសម័យកាលដ៏រុងរឿងមួយរយៈពេលខ្លី កំឡុងសតវត្សទីដប់ប្រាំមួយ ដោយសារតែព្រះមហាក្សត្រនៃប្រទេសនេះ ដែលពួកព្រះអង្គបានក៏សាងរាជធានីរបស់ទ្រង់នៅតំបន់ភាគអាគ្នេយ៍នៃ បឹងទន្លេ សាបតាមបណ្ដោយទន្លេមេគង្គ ដែលបានលើកស្ទួយពាណិជ្ជកម្មជាមួយនឹងប៉ែកផ្សេងៗនៃអាស៊ី ។ នេះគឺជាសម័យកាលដែល នៅពេលនោះពួកអ្នកផ្សងព្រេង និងសាសនទូតអេស្ប៉ាញនិងប៉ទុយហ្កាល់បានមកទស្សនាប្រទេសនេះលើកដំបូង។ ក៏ប៉ុន្តែការ សញ្ជ័យ

ចុងសម័យអង្គរ

   ក្រោយពីព្រះបាទជ័យវរ្ម័នទី៧ចូលទិវង្គតទៅ ស្ថានភាពព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជាធ្លាក់ចុះបន្តិចៗម្ដង ដែលបណ្ដាលមកពី៖
  •  បដិវត្តន៍ខ្មែរក្នុងសតវត្សទី១៤?
      ប្រវត្តិសាស្ត្រខ្មែរ តាមសិលាចារឹក និងឯកសារប្រវត្តិសាស្ត្រចិនត្រូវបញ្ចប់ក្នុងសម័យនេះដោយសារអំពីប្រភពទាំងនេះទៀត។ ទើប  អ្នកប្រវត្តិវិទូបានយកឯកសាររាជពង្សាវតារខ្មែរមកប្រើវិញដែលធ្វើអោយព្រឹត្តិការណ៍ប្រវត្តិសាស្ត្រខ្មែរមានលំនាំប្រហាក់ ប្រហែលចាប់   ពីសម័យនោះ។ វាខុសគ្នាតែកាលបរិច្ឆេទ ទីកន្លែងនិងព្រឹត្តិការណ៍បន្ទាប់បន្សំខ្លះ។

សម័យ​ មហានគរ

សម័យមហានគរគឺជាសម័យកាលមួយដែលប្រទេសកម្ពុជារីកចម្រើន ដល់កំពូលលើគ្រប់វិស័យក្រោមការដឹកនាំដោយ ព្រះបាទជ័យវរ្ម័នទី៧។ 
  • សង្គមសម័យមហានគរ
    ប្រជាជនសម័យមហានគរចែកជាបី៖
  1. ក្រុមសាសនា មាន ព្រាហ្មណ៍ និងបព្វជិត
  2. ក្រុមអ្នកធ្វើចម្បាំង មានក្សត្រ និងនាម៉ឺន
  3. ក្រុមអ្នកធ្វើពលកម្ម មានកសិករ ជាងទង វិចិត្រករ សិប្បករ ... ។
    ប្រាសាទត្រូវបានគេកសាងឡើងនៅគ្រប់ទីកន្លែងក្នុងប្រទេស។ ប្រាសាទ នីមួយៗមានអ្នកបម្រើ អ្នកការពារ និងអ្នកធ្វើពិធីផ្សេងៗ ទៀតរាប់ ពាន់នាក់ ។ មន្ត្រីរដ្ឋបាលទទួលអំណាច ពីព្រះមហាក្សត្រមកគ្រប់គ្រង កសាង និងការពារ ប្រជារាស្ត្រក្នុងដែនដីរបស់ខ្លួន។

ដើមសម័យអង្គរ


កម្ពុជានាចុងសតវត្សទី៨ ត្រូវស្ថិតនៅក្រោមអាណា និគមប្រទេសជ្វា យ៉ាងតិចណាល់ក៏ជាង១០ឆ្នាំដែរ។  ចំពោះការរស់នៅការគ្រប់គ្រង និងទិដ្ឋភាពក្នុងនគរ  យើងពុំមានឯកសារអ្វីជាសំអាងសម្រាប់សិក្សាឡើយ តែយើងអាចដឹងបានថាថ្ងៃក្រោយមានក្សត្រខ្មែរមួយ អង្គព្រះនាមជ័យវរ្ម័ន (ជ័យវរ្ម័នទី២) បានរៀបចំការ តស៊ូប្រមូលអ្នក ស្នេហាជាតិ កងទ័ពចេញមកប្រយុទ្ធ  រើបំរះរំដោះ កម្ពុជាពីអាណានិគមជ្វា។ ព្រះបាទ ជ័យវរ្ម័ន ជាព្រះមហាក្សត្រខ្មែរមួយដ៏ចំណានខ្លាំងពូ កែ ក្នុងប្រវត្ដិ សាស្រ្ដខ្មែរដែលបានកសាងសម័យ មហានគរ ហើយ ដែលបានជំរុញធ្វើអោយកម្ពុជា មានអានុភាពរៀងរហូតមក ។

សម័យ អង្គរ

 អាណាចក្រខ្មែរ រឺ សម័យអង្គរគឺអាណាចក្រមួយនៅក្នុងចំណោមក្រុមពួកអាណាចក្រដ៏មានឥទ្ធិពលបំផុតនៅអាស៊ីអាគ្នេយ៍ អាណាចក្រនេះដែលបានលូតលាស់ចេញពីអំពីអតីតនគរចេនឡារឺនគរកម្ពុជា នៅអង្កាល់នោះបានគ្រប់គ្រងលើនិង រឺបានធ្វើឲ្យ ផ្នែកខ្លះនៃឡាវ ប្រទេសថៃ វៀតណាម មីយ៉ាន់ម៉ា និងម៉ាឡេស៊ីសម័យទំនើបនេះក្លាយជាសាមន្តរដ្ឋរបស់ខ្លួន។កេរ្តិ៍ដំណែល ដ៏ អស្ចារ្យបំផុតរបស់អាណាចក្រនេះគឺអង្គរ រមណីយដ្ឋាននៃទីក្រុងរាជធានីកំឡុងពេលនៃចំណុចកំពូលនៃអាណាចក្រនេះ។ អង្គរ ជាភស្តុតាងសំរាប់ទ្រសម្បត្តិនិងឥទ្ធិពលដ៏មហិមានៃអាណាចក្រខ្មែរ ដូចគ្នានេះដែរភាពផ្សេងគ្នានៃប្រព័ន្ធជំនឿ ដែលបាន ជួយ គាំទ្រនៅពេលអតីត។

សម័យ នគចេនឡា​ (៥៥០ – ៨០២)

  ចេនឡា គឺជាឈ្មោះអាណាចក្រមួយដែលកើតឡើង ក្រោយពី អាណាចក្រភ្នំបានដួលរលំ។ ក្រោយមកចេនឡា ក៏ត្រូវបានបែង ចែកជាពីរ គឺចេនឡាខាងជើងជាចេនឡាដីគោក និងចេនឡាខាងត្បូងជាចេនឡាទឹកលិច។
      ចេនឡា(រឺ Zhēnlà 真蠟)(វ៉េដ-ហ្កាយល៍: Chēn-là)គឺការដាក់ឈ្មោះ ជាភាសាចិន ចំពោះកម្ពុជាបន្ទាប់ការធ្លាក់ចុះនៃហ៊្វូណន (扶南) ដែលគេស្គាល់ថាចឹង ឡាបជា ភាសាវៀតណាម(ដែលមាននៅក្នុងការបញ្ចេញសំលេងចិន-វៀតណាម)។ឈ្មោះ នេះនៅតែឃើញប្រើនៅក្នុងសតវត្សទី១៣ដោយបេសកជនចិនជីវ តាក្វាន់(周達觀) អ្នកនិពន្ធចេនឡា ផ្វុងធូជី (លក្ខណៈនិងទំនៀមទម្លាប់នៃកម្ពុជា)(真蠟風土記)។ ពួក អ្នកប្រាជ្ញសម័យទំនើបខ្លះបានប្រើ ឈ្មោះ នេះសម្រាប់តែរដ្ឋខ្មែរខ្លះកំឡុងពី ចុង សតវត្ស ទី៦ដល់ដើម សតវត្សទី៩។

នគរហ្វូណន (៦៨ – ៥៥០)

 នគរភ្នំជាឈ្មោះដែលជនជាតិខ្មែរហៅឈ្មោះប្រទេសរបស់ខ្លួន។ ចិនអាន ត្រាប់តាមសូរខ្មែរក្លាយជាហ្វូណន។ នគរភ្នំមានទឹកដីលាត សន្ធឹងពីបឹង ទន្លេសាបរហូតដល់ពាមទន្លេមេគង្គដែលជាប់ទៅនឹង សមុទ្រ។ រាជធានី វ្យាធបុរៈរបស់នគរភ្នំកាលនោះប្រហែលស្ថិតនៅ បាភ្នំខេត្តព្រៃវែង សព្វថ្ងៃ។ សំរាប់ការប្រើប្រាស់ផ្សេងទៀតសូមមើល ភ្វូណាន(អត្ថន័យ) ។
Fúnán 扶南គឺជាឈ្មោះចិននៃនគរបុរាណដែលស្ថិតនៅតំបន់ដីសណ្ដ ទន្លេមេគង្គការកំណត់ឈ្មោះនេះត្រូវបានគេរកឃើញនៅក្នុងអត្ថបទ ប្រវត្តិសាស្ត្រ ចិនជាច្រើនដែលពិព៌ណនាពីរដ្ឋនេះបើតាម ចិនបុរាណ អានថា ប៊ីយូ

សម័យ បុរេប្រវត្តិ(មុន ស.វ ទី១)

 សម័យបុរេប្រវត្ដិគឺជាសម័យកាលដ៏យូរលង់ណាស់មកហើយ ដែលពេលនោះ មនុស្សពុំទាន់ចេះបង្កើតតួអក្សរ សម្រាប់កត់ ត្រាហេតុការណ៏អ្វីឡើយ។ ដើម្បីសិក្សាអំពីបុរេប្រវត្តិខ្មែរ យើងក៏ត្រូវសិក្សាអំពីទឹកដីខ្មែរដែរ ។ នៅភូមិភាគអាស៊ីអាគ្នេយ៍កាល ពីមុនធ្លាប់មានពំនើងផ្នត់កាឡេដូន្យាង (Plissement caledonien) និងពើងផ្នត់អែរស៊ីន្យាង (Plissement hercynien) ដែលធ្វើឲ្យផុស ឡើង នៅខ្ពង់រាប និងជួរភ្នំនានាពាសពេញប្រទេសខ្មែរសព្វថ្ងៃ។ បន្ទាប់មកក៏បានលិចទៅវិញដោយទឹកសមុទ្រនៅស័កទី៣។

សម សារី

នៅពេល​សាធារណមតិ​ជាតិ​និង​អន្តរជាតិ​ចាប់ផ្តើម​សិក្សា​ពី​លក្ខ​ណស​ម្ប​តិ្ត​របស់លោក សម រង្ស៊ី ដែលជា​មេដឹកនាំ​ចលនា​ប្រជាធិបតេយ្យ​និង​អ្នកស្នេហាជាតិ​ដ៏​សំខាន់​នៅក្នុង​ប្រទេស​កម្ពុជា​ដែល​កំពុង​ត្រួសត្រាយ ផ្លូវ​ប្រជាធិបតេយ្យ​ជូន​រាស្ត្រ​ខ្មែរ​ទូទៅ ឲ្យ​ចេះ​ប្រើប្រាស់​សិទ្ធិអំណាច និង សម្រេច​ជោគវាសនា​របស់ខ្លួន ឲ្យ​បាន​ត្រឹមត្រូវ​នោះ គេ​តែងតែ​ពិនិត្យមើល​ពី​សែស្រឡាយ​និង​ប្រវត្តិ​គ្រួសារ​របស់លោក សម រង្ស៊ី ដែលជា​តំណក់ឈាម​ខ្មែរ​ស្នេហា​ជាតិ​ដ៏​មានតម្លៃ​ធ្លាប់ បានធ្វើ​ពលិកម្ម​គ្រប់បែបយ៉ាង ក្នុងការ​បម្រើ​ជាតិ​មាតុភូមិ ហើយ​ភាពស្មោះត្រង់​ចំពោះ​ព្រះរាជ​បល្ល័ង្ក និង​ព្រះមហាក្សត្រ​បាន​បន្ត​កើតមាន​តាំងពី​ជំនាន់​ជីតា​របស់លោក​ប្រធាន សម រង្ស៊ី មក​ម្លេ​៉ះ​។ វា​មិនមែនជា​រឿង​ចៃដន្យ​នោះទេ ដែល​លោក​ប្រធាន សម រង្ស៊ី

วันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ប្រវត្តិសាស្ត្រខ្មែរ


បុរេប្រវតិ្តសាស្រ្តនៅឥណ្ឌូចិនមានប្រហែល១០០ពាន់ឆ្នាំ។ មនុស្សនៅពេលនោះបានជានាយព្រានព្រៃនិងបរកជន។ បុរាណវត្ថុវិទ្យា គិតថាមនុស្សមុនគេបំផុតគឺជាម៉ាលិសតែឥណ្ឌូចិន បានទទួលមនុស្សដែលមកពីខាងជិងនិងធើ្វជាតិពន្ទុខែ្មរ។
ប្រទេសឥណ្ឌា
សតវត្សរ៏ទី១​គ.ស.មានមនុស្សជាច្រើនមកពីប្រទេសឥណ្ឌាដែលតាំងលំនៅជាមួយមនុស្សមុនគេ។គេឲ្យសាសនា, វប្ឃកិច្ទ,ភាសា។ល។
អាណាចក្រភ្នំ និង ចេនឡា

តើប៉ុល ពត ជានរណា?


ប៉ុល ពត គឺជា​លេខា​បក្ស​កុម្មុយនិស្ត​កម្ពុជា ដែល​ជា​តំណែង​ខ្ពស់​បំផុត​នៅក្នុង​បក្ស និង​ជា​នាយក​រដ្ឋមន្រ្តី​នៃ​របប​កម្ពុជា​ប្រជាធិបតេយ្យ ដែល​គេ​ស្គាល់​ថា​ជា​ របប​ខ្មែរក្រហមរបប​ប៉ុល​ពត។ ប៉ុល ពត គឺ​ជា​មនុស្ស​ដ៏​អាថ៌កំបាំង​ម្នាក់ ដែល​ចំណាយពេល​ភាគច្រើន​នៃ​ជីវិត​របស់​គាត់ រស់​ក្នុង​ការ​លាក់​កំបាំង។ សូម្បីតែ​ឈ្មោះ និង​ថ្ងៃខែឆ្នាំ​កំណើត​ក៏​ប៉ុល ពត បាន​ផ្លាស់ប្តូរ​ដែរ។
ប៉ុល ពត តាមពិត​មាន​ឈ្មោះដើម​ថា សាឡុត ស កើតនៅ​ភូមិ​ព្រែកស្បូវ ក្នុង​ខេត្ត​កំពង់ធំ។ គេដឹង​ថា ប៉ុល ពត ​ស្លាប់ នៅ​ថ្ងៃទី១៥ ខែ​មេសា ឆ្នាំ​១៩៩៨។ ក៏ប៉ុន្តែ ប៉ុល ពត កើត​នៅ​ថ្ងៃណា ខែណា ឆ្នាំណា នៅតែ​ជា​បញ្ហា​មិន​ច្បាស់លាស់​ដដែល។ យោងតាម​វិទ្យុជាតិ​កម្ពុជា​ប្រជាធិបតេយ្យ ដែល​បាន​ផ្សាយ​នៅ​ឆ្នាំ​១៩៧៧ ប៉ុល ពត កើត​នៅ​ឆ្នាំ១៩២៥។ ក៏ប៉ុន្តែ យោងតាម​ឯកសារ​ជាច្រើន ដែល​អាណាព្យាបាល​បារាំង​បាន​តម្កល់​ទុក​នៅ​ឆ្នាំ​១៩៥០ ប៉ុល ពត ឬ​សាឡុត ស កើត​នៅ​ថ្ងៃទី២៥ ខែ​ឧសភា ឆ្នាំ​១៩២៨។ ឯ​ប៉ុល ពត ខ្លួនឯង​បាន​អះអាង ថ្ងៃខែឆ្នាំ​កំណើត​ពិត​របស់​គាត់ គឺ​ខែ​មករា ឆ្នាំ​១៩២៥ ប៉ុន្តែ បាន​បន្ថយ​អាយុ​៣ឆ្នាំ ដោយ​ចុះ​ក្នុង​បញ្ជីជាតិ​ថា​កើត​នៅ​ឆ្នាំ​១៩២៨​វិញ។

ខ្មែរក្រហម​


នៅថ្ងៃទី១៧ ខែ​មេសា ឆ្នាំ​១៩៧៥ កងទ័ព​ខ្មែរក្រហម​ដណ្តើម​កាន់កាប់​ក្រុង​ភ្នំពេញ ហើយ​ផ្តួលរំលំ​ជា​ស្ថាពរ​នូវ​របប​សាធារណរដ្ឋ​ខ្មែរ របស់​ លន់ នល់។ ​រាល់​អំណាច​ទាំងអស់​ក៏ធ្លាក់​ក្នុងដៃ​ពួក​ខ្មែរក្រហម ដែល​មាន សាឡុត ស ជា​មេដឹកនាំ។ ក៏ប៉ុន្តែ ទោះជា​ក្រោយពី​ទទួលបាន​ជោគជ័យ​ហើយ​ក៏ដោយ ក៏ សាឡុត ស នៅតែ​បន្ត​លាក់បាំង​អត្តសញ្ញាណ​របស់​ខ្លួន​ដដែល។
នៅថ្ងៃទី២៣ ខែ​មេសា ឆ្នាំ១៩៧៥ ពោលគឺ មួយ​សប្តាហ៍​ក្រោយពី​កងទ័ព​ខ្មែរក្រហម​ដណ្តើម​កាន់​កាប់ក្រុងភ្នំពេញ ទើប សាឡុត ស ធ្វើដំណើរ​ចូលមក​ទីក្រុងភ្នំពេញ។ នៅពេលនោះ ប្រជាជន​ត្រូវបាន​គេ​ជម្លៀស​ចេញពី​ភ្នំពេញ​អស់​ទៅហើយ។ សាឡុត ស ចូលមក​ទីក្រុង​ភ្នំពេញ​ ដោយ​ស្ងាត់ស្ងៀម​ គ្មាន​ពិធី​អបអរសាទរ​អ្វី​ទាំងអស់។

วันอังคารที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2556

อุดมคติของมิคาเอล คอร์บาชอฟ

 
 น้อยคนที่คึดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วระหว่างอิทธิพลตะวันตกและตะวันออก ในช่วงระหว่าง ค.ส ๑๙๘๘-๑๙๙๑ ซึ่งสหภาพโซเวียดล่มสลายระบบระหว่างประเทศได้เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง เมื่อความขัดแย้งระหวา่งตะวันตกและตะวันออกได้หยุดลงและสลายเป็นประวัติศาสตร์ ซึ่งปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมีเหตุการณ์ที่สำคัญดังนี้คือ
          การประชุมสุดยอดระหว่างอมิริกา กับโซเวียด ที่มอสโก นิวยอร์ก และเจนิวา เมื่อ ๑๙๘๘ และ ๑๙๘๙ มอลต้า จากนั้นก็มีการประชุมสุดสอดกันอีก ๒ ครั้ง คือที่วอชินตัน และเฮซิงกิ เมื่อ ค.ศ ๑๙๙๐
           ส่วนสำคัญในการประชุมคือ มิคาเอล คอร์บาชอฟ ไม่พอใจในนโยบายเก่าๆของโซเวียด จึงได้ส้รางแนวคิดใหม่(New Thinking) ซึ่งมี ๔ ประการคือ
               (๑) ให้ความสำคัญของการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน(Interdependence) มากกว่าการขัดแย้งทางชนชั้น(Class Conflict)
                 (๒) ให้ความสำคัญในประเด็นปัญหาระดับโลกมากกว่าอุดมการณ์
                 (๓) การกำหนดใจตนเองของชาติ(National Self-Determination) มากกว่าการยัดเยียดระดับสังคมนิยมไปสู่ต่างประเทศ
                 (๔) ความจำเป็นที่จะต้องมีโครงสร้างความมั่นคงแนวใหม่(New Security formular) ที่ดำเนินการใช้วิธีการเมืองแทนที่การทหารในการแก้ไข้ปัญหาต่างๆ ยอมรับได้ในการที่จะมีความมั่นคงซึ่งกันและกัน(Matual Security) และสร้างกำลังทหารบนพื้นฐานของความเพียงพอที่เหตุผล(Reasonable Efficiency) การป้องกันเชิงรับ(Defensive Defense)
           ซึ่งหลักการดั่งกล่าว คอร์บาชอฟ ได้พุดในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ และประกาศลดกำลังทหารลง ๕๐๐,๐๐๐ คน ลดจำนวนรถถัง ๕๐ เปอร์เซ็น และลดจำนวนปืนใหญ่ลง

วันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556

การปฏิวัติทางการเมืองในยุโรปและอเมริกา


การปฏิวัติทางการเมืองในยุโรปและอเมริกา

ประชาธิปไตยในอังกฤษ

คำสำคัญ
            1. แมกนาคาร์ตา   2. การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์  3. Reform  Bill 
คำถามชวนคิด
เพราะเหตุใดการปฏิวัติในอังกฤษจึงเป็นการปฎิวัติโดยไม่เสียเลือดเนื้อ

การปฏิวัติในอังกฤษ

            อังกฤษเป็นประเทศที่ได้ชื่อว่าเป็นแม่บทของประชาธิปไตย ลักษณะการปกครองของอังกฤษ ถือได้ว่าเป็นแบบสถาบันกษัตริย์โดยรัฐธรรมนูญ (Constitutional monarchy) และประชาธิปไตยโดยรัฐสภา การพัฒนาการเมืองของอังกฤษมาเป็นระบอบประชาธิปไตย เกิดขึ้นตั้งแต่ปลายสมัยกลาง กล่าวคือ ใน ค.. 1215 ขุนนางบีบบังคับให้พระเจ้าจอห์นที่ 5 ยอมรับใน  กฏบัตรแมกนาคาร์ตา (Magna Carta) ซึ่งจำกัดพระราชอำนาจของกษัตริย์อังกฤษ อย่างไรก็ตามกษัตริย์อังกฤษหลายพระองค์พยายามที่จะหลีกเลี่ยงและละเมิดกฏบัตรดังกล่าว
             หลังจากสงครามกลางเมือง (Civil War) ค.ศ.1642-1649   กษัตริย์อังกฤษพระเจ้าชาร์ลสที่ 1 ถูกสำเร็จโทษ อังกฤษปกครองระบอบสาธารณรัฐชั่วระยะเวลาหนึ่ง(ค.ศ. 1649-1659)โดย โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ มีการปราบผู้ที่ไม่เห็นด้วย  ถือว่าเป็นยุคแห่งความหวาดกลัว  เกิดความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม  เกิดการสู้รบนองเลือดจนมีการประกาศยกเลิกระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของอังกฤษยุบสภาโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ เสียชีวิตลงรัฐสภาได้ฟื้นฟูระบบกษัตริย์ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งโดยเชิญกษัตริย์ในราชวงศ์สจ๊วตมาปกครอง 
            การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างถาวรเกิดขึ้นใน ค.ศ. 1688 เนื่องจากพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ไม่ยอมรับอำนาจรัฐสภา  รัฐสภาร่วมมือกับประชาชนต่อต้านจนพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ต้องสละราชสมบัติและมีการสถาปนาพระเจ้าวิลเลี่ยมที่ 1 แห่งฮอนแลด์( เมื่อมาปกครองที่อังกฤษเปลี่ยนเป็นพระเจ้าวิลเลี่ยมที่ 3 ) ร่วมกับพระนางแมรีที่ 2 การปฏิวัติในครั้งนี้ได้มีการประกาศ พระราชบัญญัติว่าด้วยสิทธิ(Bill of Rights ค.ศ. 1689) ที่ย้ำถึงสิทธิและเสรีภาพที่ชาวอังกฤษควรมีได้รับเท่าเทียมกันและอำนาจของรัฐสภามีเหนือสถาบันกษัตริย์ ซึ่งท้ายที่สุดได้เกิดการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์(Bloodless  Revolution หรือ Glorious Revolution) โดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อ ถือว่าเป็นการสิ้นสุดระบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
            อังกฤษได้พัฒนามาสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์เมื่อมีการประกาศใช้พระราช
บัญญัติปฏิรูป (Reform  Bill  ) ใน ค.. 1832 และ ค.. 1867 ซึ่งขยายสิทธิการเลือกตั้งให้กับสามัญชน    และการเพิ่มอำนาจและบทบาททางการเมืองของสภาสามัญให้มากขึ้น
สรุป   อังกฤษได้วางรากฐานการปกครองไว้ 3 ประการ คือ
            1. การมีรัฐบาลโดยได้รับความยินยอมพร้อมใจ
            2. การมีตัวแทนของประชาชน
            3. การมีกฎเกณฑ์ของกฎหมายโดยรัฐธรรมนูญ
            รัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของอังกฤษ เป็นรัฐธรรมนูญที่มิได้มีการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างเป็นทางการฉบับเดียวที่แน่นอน   ดังเช่นในประเทศอื่นๆ  บางส่วนเป็นกฎหมายที่ออกตามสถานการณ์ เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ หรือเป็นกฎที่มาจากการปฏิบัติที่เป็นประเพณีสืบกันมา

วันอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์

บทที่ ๑
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชารัฐศาสตร์
๑. ศัพท์ "รัฐศาสตร์"
          ๑.๑ รัฐศาสตร์  เป็นคำศัพท์ที่แปลมาจากภาษาต่างประเทศ  บางครั้งใช้คำต่อไปนี้ ๑, Politics ๒, Political ๓, Government ซึ่งถ้าแปลตรงตัวก็คือ การเมือง รัฐศาสตร์ และ การปกครอง ความแตกต่างของคำศัพท์ ๓ คำมีอยู่บ้าง แต่ในวงการรัฐศาสตร์ตะวันตกใช้ในความหมายแทนก็ได้ 
          ความแตกต่างระหว่างรัฐศาสตร์กับการเมือง  ที่ใช้ในภาษาไทย  คือ  รัฐศาสตร์  เป็นเรืองวิชาการ  มีการจัดระบบหมวดหมู่อย่างชัดแจ้ง  แต่  การเมือง  ใช้ใน  ๒  ความหมายใหญ่  คือ  ๑,  เป็นกิจกรรมของมนุษย์ และ ๒, มีความหมายเอนเอียงไปในทางลบหรือไม่คอยดีนัก  คือเข้าทำนองว่าเป็นความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ส่วนตัว
          ๑.๒ คำว่า การเมือง อิงรากศัพท์มาจาก Polis ซึ่งเป็นภาษากรีก และแปลว่านครรัฐอันเป็นการรวมตัวทางการเมืองแบบหนึ่งซึ่งใหญ่กว่าระดับครอบครัว หรือเผ่าพันธ์ นครรัฐในกรีกโบราณ ได้แก่ เอเธนส์ และ สปาร์ตา เป็นต้น  
          รากศัพท์ของ รัฐศาสตร์ ใช้ในภาษาอังกฤษว่า Political Science มาจากภาษาเยอรมัน คือ สตาดสวิสเซนซาฟต์ Statswissenschuft  แปลตามตัวอักษร คือ ศาสตร์แห่งรัฐ
           ๑.๓ สำหรับศัพท์ Government มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก Kybernates ซึ่งแปลว่า ผู้้ถือหางเสือเรือ มีการเปรียบเทียบว่าการเมืองการปกครอง โดยเฉพาะรัฐบาลเป็นเสมือนเรือและมี วลี รัฐนาวา (Ship of State)    
๒. รัฐศาสตร์ในโลกตะวันตก
          ความคิดเชิงรัฐศาสตร์เริ่มแรกเป็นผลของการ
                 ๑. เขียนทางประวัติศาสตร์ และ
                 ๒. ความคิดเชิงปรัชญา
          ๒.๑. อิทธิพลทางประวัติศาสตร์ 
          ในกรีกโบราณมีนักประวัติศาสตร์ เลื่องชื่อ ๒ ท่าน คือ เฮรอดคตัส (484-425 B.C) และ ธูซิดิดส์ (460-400 B.C)
          ก. เฮรอโคตัส ได้รับฉายาว่าเป็น บิดาของวิชาประวัติศาสตร์




วันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ព្រឹត្ដិការណ៍ ១៩៦៧ -១៩៧០

         ព្រឹត្ដិការណ៍ឆ្នាំ ១៩៦៧ ខែមករា ថ្ងៃទី៦ សីហនុ ចេញទៅប្រទេសបារាំងសំរាប់រយៈពេលពីរខែ។
 លន់ នល់ ឆ្លៀតអោកាសអវត្ដមានសម្ដេចសីហនុ បានរៀបចំប្រពន្ធប្រមូលស្រូវដោយពួកយោធាមួយ
ដោយពួកនេះបង់ថ្លៃទិញស្រូវតែមួយភាគបីនៃ តំលៃនៅទីផ្សារសេរីតែប៉ុណ្ណោះ។ ការនេះធ្វើទៅដោយ
មានទាំងអំពើហឹង្សា និងពេលខ្លះមានដល់អំពើឃាតកម្មផងក៏មាន។ដើម្បីធ្វើយុទ្ធនាការនេះ លន់ នល់ បានទៅស្នាក់នៅក្នុងខេត្ដបាត់តំបងដែលពីមុនក្នុងអំលុងឆ្នាំ ១៩៤៦ ដល់១៩៥៣ គាត់ធ្លាប់កាន់ការជាចៅ
ហ្វាយខេត្ដនៅទីនោះ។ខែកុម្ភៈ ថ្ងៃទី២៤ ដល់ថ្ងៃទី៣ ខែមិនា កងទ័ពអាមេរិកកាំង និង យួនខាងត្បូងចូល
កាន់កាប់ភូមិច្រកក្រាញ (ខេត្ដកំពង់ចាម) ដោយដេញប្រជាជនខ្មែរអោយចេញអស់ពីភូមិ ។ ខែមិនា ថ្ងៃទី
៩ ការយាងត្រលប់មកកម្ពុជាវិញរបស់ស្ដេច សីហនុ ដោយព្រះអង្គឃើញថាមានសភាពកាន់តែធ្ងន់ធ្ងរខ្លាំង
ឡើង ។ ខិតប័ណ្ណប្រកាសប្ដឹងបរិហារការប្រមូលស្រូវ និងអំពើហឹង្សារបស់ពួកទាហាននិងតិះតៀននយោ
បាយនិយមអាមេរិករបស់ លន់ នល់ ។ ថ្ងៃទី ១១ មហាបាតុកម្មដ៏ធំមួយនៅទីក្រុងភ្នំពេញរៀបចំដោយពួក
ឆ្វេងនិយមដែលមាន ខៀវ សំផន ជាមេ និងពួកឆ្វេងនិយមនៅក្នុងគណបក្សសង្គម។ មានការទាមទារអោយ

วันพุธที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ทฤษฎีองค์การ (Organization Theory)


               แนวความคิดที่เกี่ยวกับองค์การได้ถูกรวบรวม และคิดค้นอย่างมีรูปแบบ จนกลายเป็นทฤษฎีเมื่อประมาณต้นศตวรรษที่ 20  ทฤษฎีเป็นเพียงนามธรรมที่อธิบาย และวิเคราะห์ถึงความจริง และประสบการณ์ต่าง ๆ ของธรรมชาติที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัว อย่างมีระบบและมีแบบแผนเชิงวิทยาศาสตร์ว่า ถ้าทำ และหรือ เป็นอย่างนั้น ผลจะออกมาแบบนี้ (If ……then) ซึ่งในลักษณะเช่นนี้ ทฤษฎีก็เปรียบเสมือนการคาดคะเนถึงผลที่เกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน จากระยะเวลาต้นศตวรรษที่ 20 จนถึงปัจจุบัน สามารถจำแนกแนวความคิดและทฤษฎีองค์การออกเป็น  3 ขั้นตอน คือ (ไชยา ยิ้มวิไล 2528 อ้างจาก Henry L. Tosi)
1. ทฤษฎีสมัยดั้งเดิม (Classical Theory)
2. ทฤษฎีสมัยใหม่ (Neo-Classical Theory)
3. ทฤษฎีสมัยปัจจุบัน (Modern Theory)
1. ทฤษฎีสมัยดั้งเดิม (Classical Theory)

มาร์กซ์ (Karl Marx 1818-1883)


นักปรัชญาชาวเยอรมัน เป็นผู้มีอิทธิพลทางความคิดมากที่สุดในสมัยปัจจุบัน ความคิดของเขาพอที่จะสรุปได้ว่า รัฐเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็นเลยสำหรับสังคม หรือรัฐเป็นสิ่งที่จะต้องหายไปในที่สุดในกระแสวิวัฒนาการของสังคม มาร์กซ์มีความเห็นว่าสังคมต้องมีรัฐก็เพราะสังคมมนุษย์มีบทบาทพื้นฐานคือการผลิต การผลิตของมนุษย์ทำให้เกิดชนชั้นขึ้น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายผู้สามารถเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต และผู้ใช้แรงงานการผลิตแต่ไม่ได้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ตัวอย่างเช่น นายทุนเป็นเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม และกรรมกรเป็นพียงผู้ขายแรงงานในโรงงาน เมื่อนั้นฝ่ายที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตจะกลายเป็นผู้มีอำนาจ และเพียรพยายามที่จะรักษาสถานภาพและอำนาจของตนไว้ จึงได้สร้างอำนาจรัฐขั้นมา รัฐจึงกลายเป็นสิ่งจำเป็นในแง่ที่เป็นเครื่องมือในการกดขี่ของฝ่ายมีอำนาจที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต เพื่อรักษาสถานภาพและทำให้ตนมีผลประโยชน์ตอบแทนสูงที่สุด รัฐจึงจำเป็นในแง่รักษาผลประโยชน์ของชนบางกลุ่มเท่านั้น มิใช่จำเป็นตลอดไปสำหรับสังคมมนุษย์ ทั้งนี้ ถ้าวิธีการผลิตของสังคม ไม่มีใครเป็นฝ่ายยึดกุมการผลิต หรือปัจจัยการผลิตเป็นส่วนกลาง เมื่อนั้นชนชั้นทางสังคมไม่มี หรือกลายเป็นสังคมไร้ชนชั้น และไม่จำเป็นต้องสร้างรัฐขึ้นมาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อกดขี่หรือขูดรีดอย่างใดทั้งสิ้น ด้วยเหตุดังกล่าว

มิลล์ (J.S.Mill 1806-1873)


เป็นนักปรัชญาที่สนับสนุนหลักประโยชน์นิยมของเบ็นธัม ท่านไม่ได้เน้นหลักประโยชน์นิยม แต่เน้นความสำคัญทางเสรีภาพและวิถีชีวิตที่อิสระเสรี โดยท่านแบ่งการกระทำของมนุษย์ออกเป็น 2 ชนิด คือ การกระทำที่มีผลกระทบต่อบุคคลอื่น ๆ และการกระทำที่มีผลจำเพาะต่อผู้กระทำคนเดียว เพื่อที่จะให้เป็นไปตามหลักประโยชน์นิยม คือหยุดยั้งการกระทำที่อาจนำไปสู่ผลคือ ความทุกข์ของคนส่วนใหญ่ แต่การกระทำที่มีผลต่อผู้กระทำเพียงคนเดียวนั้นเป็นอิสระ และใครเข้าไปก้าวก่ายไม่ได้ บุคคลมีสิทธิ์ที่จะนำความคิดต่าง ๆ มาอภิปรายตีแผ่ให้รู้ไปเลยว่าความคิดของใครเป็นสัจจะและเสรีภาพดังกล่าวเป็นวิธีเดียวที่จะทำให้คนแสวงหาสัจจะได้.

เบ็นธัม (Jereny Bemtham 1748-1832)


นักปรัชญาชาวอังกฤษ ผู้ให้กำเนิดหลักจริยธรรมที่เรียกว่าหลักประโยชน์นิยมหรือทฤษฎีประโยชน์นิยม (Utilitarianism) คือความประพฤติที่ถูกต้องชอบธรรม และมีผลให้เกิดความสุขหรือความพึงพอใจทางกายมากที่สุดแก่คนส่วนมากที่สุด (The Greatest Happiness For The Greatest Number) จุดมุ่งหมายของเบ็นธัมก์ คือ ในสังคมนั้นรัฐต้องคำนึงถึงความสุข หรือความพึงพอใจของสังคม โดยมุ่งมีกฏหมายมาเป็นตัวบังคับสำหรับหมู่คณะ เพื่อนำไปสู่ความสุขหรือความพึงพอใจแก่คนส่วนใหญ่ ดังนั้นมนุษย์ต้องเคารพกฏหมาย เพราะนำไปสู่ความสุขของสังคมส่วนใหญ่ งานเขียนทางการเมืองที่สำคัญของเขาคือ Introduction to The Principles of Morals and Legislation

รุสโซ (Jean – Jacqnes Rousseau 1712-1778 )


นักปรัชญาการเมืองชาวฝรั่งเศส เขาเห็นว่า สังคมร่วมสมัยตอนนั้นมีลักษณะขัดแย้งกับธรรมชาติของมนุษย์เป็นสังคมที่เสแสร้ง อุปโลกน์บิดเบือน และฟุ่มเฟือย แม้แต่วิทยาศาสตร์กับศิลปะก็เป็นสิ่งเสแสร้ง เพราะวิทยาศาสตร์เกิดจากความรู้สึกหยิ่งผยองในตัวเองไม่ใช่เกิดจากความรู้สึกที่แท้จริง และศิลปะก็เกิดจากความรู้สึกฟุ้งเฟ้อมากกว่าความรู้สึกที่แท้จริงเช่นกัน รุสโซจึงหันไปชื่นชมการใช้ชีวิตสมัยดึกดำบรรพ์ เพราะเป็นชีวิตที่อิสระและได้ทำตามความปราถนาของตนและมีคุณธรรมอย่างง่าย ๆ คือไม่สร้างความเจ็บปวดหรือความทุกข์ให้กับเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ดังนั้นสังคมปัจจุบันในทัศนะของเขา จึงมองเป็นสังคมที่บิดเบือนให้เป็นความรู้สึกแข่งขันและเปรียบเทียบ และความรู้สึกสาใจ ถ้าคู่แข่งขันต้องพ่ายแพ้และประสบความย่อยยับลงไป

จอหน์ ลอค (John Locke 1632-1714)


นักปรัชญาชาวอังกฤษ แสดงทัศนะทางการเมืองของเขาไว้ในหนังสือชื่อ The Treatises On Government ปรัชญาของเขา คือการคัดค้านทฤษฎีเทวสิทธิ์ (Divine Right) ซึ่งอ้างว่า พระเจ้าได้มอบอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศให้กับกษัตริย์ และสนับสนุนความคิดที่ว่ารัฐกำเนิดขึ้นตามทฤษฎีสัญญาประชาชน (Social Contract) และสิ่งที่ลอคนำมาใช้เป็นหลักฐานสนับสนุนทฤษฎีนี้คือสภาพตามธรรมชาติ (State of nature) ของมนุษย์และกฏธรรมชาติ (Natural Law) ซึ่งเป็นสภาพก่อนมีรัฐ ลอคกล่าวถึงสภาพธรรมชาติว่า มนุษย์มีเสรีภาพโดยสมบูรณ์ (Perfect Freedom) หมายความว่าโดยธรรมชาติมนุษย์มีสิทธิการกระทำของตนเองโดยไม่ต้องขึ้นอยู่กับคำยินยอมหรือเจตนารมณ์ของใครทั้งสิ้น มนุษย์จึงขึ้นอยู่กับกฏธรรมชาติเท่านั้น และได้มีเสรีภาพทางด้านความคิดเห็นเกี่ยวกับศาสนา ชีวิตส่วนตัว สิทธิในทรัพย์สินที่เขาได้ลงแรงลงไปกับทรัพยากรของโลก นั้นหมายความว่า กฏธรรมชาติซึ่งเป็นกฏของพระเจ้าที่ให้สิทธิ์ไว้ว่า ชีวิตและทรัพย์สินส่วนตัวเป็นทรัพย์สินเอกชนต้องได้รับการเคารพ ใครจะละเมิดสิทธิมิได้ ดังนั้นความเห็นของลอคจึงมีทัศนะตรงที่ว่ามนุษย์มีสิทธิและเสรีภาพ โดยมีรัฐสามารถให้การป้องกันถึงสิทธิเสรีภาพที่มีอยู่ตามธรรมชาติได้ดีกว่าต่างคนต่างใช้อำนาจบังคับตามกฏธรรมชาตินั้นเอง.

โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes 1588-1679)


นักปรัชญาชาวอังกฤษ ท่านมีทัศนะว่า การเคลื่อนที่ (Movement) เป็นมูลบทที่ทุกคนต้องยอมรับว่ามีจริง โดยแบ่งความรู้เป็น 4 แขนง คือ

1.เรขาคณิต วิชาว่าด้วยการเคลื่อนที่ของเทห์ (Bodies)
2.ฟิสิกส์ วิชาว่าด้วยผลกระทบต่อกันของเทห์ที่เคลื่อนที่
3.จริยศาสตร์ วิชาที่ว่าด้วยการเคลื่อนที่ของระบบประสาท
4.การเมือง วิชาที่ว่าด้วยผลกระทบต่อกันของระบบประสาท

เซนต์ ออกัสติน (St. Augustine ค.ศ. 354-430)


ปัญหาที่ว่า อะไรคือแบบของมนุษย์ที่พระเจ้าทรงกำหนดขึ้น ? ท่านมีความเห็นว่า มนุษย์ต้องเป็นสิ่งที่แสวงหาพระเจ้าหรือรักพระเจ้า เพราะพระเจ้าเป็นผู้ปลูกฝังให้เกิดความรักในพระองค์ ด้วยปัญญาของพระเจ้า และเมื่อมนุษยืรักในพระเจ้าเขาต้องได้ความรักพร้อมทั้งความสุขอย่างแท้จริง เซนต์ ออกัสตินมีความเห็นว่า ในตัวมนุษย์ได้เกิดการต่อสู้ระหว่างความรัก 2 แบบคือ การรักพระเจ้าและการทำตามกฏศีลธรรม กับการรักพระองค์และรักโลกนี้ ดังนั้น ท่านจึงแบ่งมนุษย์ออกเป็น 2 ค่าย คือกลุ่มที่ตัดสินใจรักในพระองค์ กับกลุ่มที่ตัดสินใจปฏิเสธพระเจ้าและรักตัวเองและรักโลกแทน จากสิ่งนี้เองท่านจึงมีทัศนะที่เชื่อมต่อเรื่องสังคมและรัฐ คือให้ทัศนะว่า รัฐ (State) มีความสำคัญน้อยกว่าศาสนจักร (Church) ท่านคิดเช่นนั้นก็เพราะว่า ศาสนจักรเป็นนครแห่งพระเจ้า ความยุติธรรมจะเกิดดฉพาะในรัฐและในสังคมที่เคารพบูชาพระเจ้าเท่านั้น ดังนั้น รัฐเป็นสิ่งไม่จำเป็น และไม่มีความสำคัญเท่าศาสนจักร เหตุผลพราะรัฐที่ไม่นับถือพระเจ้าย่อมไม่มีศีลธรรม ก่อเหตุร้ายต่าง ๆ เสมอ และหาความยุติธรรมในสังคมไม่ได้เลยนั้นเอง

อาริสโตเติ้ล (Aristotle)


เกิดเมื่อ พ.ศ. 159 ที่สตากิรา ในแคว้นเธรซ ท่านเป็นศิษย์ของพลาโต และท่านเป็นนักปรัชญาคนสุดท้ายของกรีกสมัยรุ่งเรือง ท่านเกิดในตระกูลแพทย์จึงมีนิสัยรักการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ ต่อมาท่านได้ศึกษาชีววิทยา โดยเฉพาะชีวิตสัตว์ทะเล ท่านได้ตั้งสำนักของตนขึ้นเรียกว่า ลีเซอุม (Lyceum) และต่อมาได้สร้างห้องสมุดเพื่อสะสมหนังสือและอุปกรณ์การสอน ส่วนที่เหมือนกันระหว่างพลาโตและอริสโตเติ้ล คือรัฐและสังคมเป็นธรรมชาติ เมื่อมนุษย์ต้องมีสังคมร่วมกัน การมีรัฐและสังคมที่ดี ย่อมทำให้เกิดความสุขได้ดีที่สุด

พลาโต้ (Plato)


เกิด พ.ศ. 116-196 มีชื่อเดิมว่า อาริสโตเคล็ส (Aristocles) ที่กรุงเอเธนส์ พลาโต้ได้ฟังปรัชญาจากโสคราตีสเมื่อตนได้มีอายุได้ 20 ปีแล้ว จนกระทั่งโสคราตีสถูกประหารชีวิตในปีพ.ศ.144 ต่อมาได้ศึกษาปรัชญาของยูคลิเดส (Euclides) ผู้เป็นลูกศิษย์ของโสคราตีส ซึ่งได้นำปรัชญาของโสคราตีสเข้ากับปรัชญาของปาร์มีนิเดส และยังได้ศึกษาปรัชญาจากสำนักของไพธากอรัส ที่กรุงเอเธนส์นั้น ท่านวางมือจากการเมืองที่ยุ่งเหยิง และเลือกดำเนินชีวิตอย่างนักปรัชญา โดยสร้างคนให้เป็นนักปรัชาและนักปกครองที่ดี พลาโต้ตั้งสำนักแห่งหนึ่งชื่อว่า อะคาเดมี (Academy) ให้การศึกษาแก่เยาวชนกรีก นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของกรีก โดยให้เด็กหนุ่มที่ต้องการศึกษา มุ่งมาสมัครเรียนที่นั้น พลาโต้เห็นว่า “นักปกครองที่ดีต้องมีความรู้ทั้งที่เป็นวิทยาศาสตร์ และปรัชญาการเมือง”

โสคราตีส (Socrates)


เกิดที่กรุงเอเธนส์ พ.ศ. 73-144 บิดาชื่อโซโฟรนิสคุส (Sophromiscus) เป็นช่างแกะสลัก มารดาชื่อเฟนารีท (Phaenarete) ก่อนท่านถูกประหารชีวิตในกรีก ได้รับการบันทึกไว้โดยละเอียดในบทสนทนาของฟลาโดชื่อ (Phaedo) เมื่อมีผู้ถามว่า ทำไมท่านจึงไม่กลัวความตาย ท่านตอบว่า เพราะท่านเชื่อว่า “วิญญาณของคนเราเป็นอมตะ ถ้าท่านตาย วิญญาณของท่านจะกลับสู่สรวงสวรรค์ ยิ่งไปกว่านั้นเหตุเพราะท่านเป็นนักปรัชญา ท่านอธิบายว่า นักปรัชญา คือ ผู้ที่แสวงหาความรู้ที่สมบูรณ์ แต่นักปรัชญาไม่มีวันเข้าถึงความรู้ที่สมบูรณ์ ถ้าหากเขายังมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ เพราะวิญญาณของเขาถูกคุมขังอยู่ในร่างกายจึงขาดอิสรภาพในอันเข้าถึงสัจธรรม การประสบความตาย คือการได้ปลดปล่อยวิญญาณจากเครื่องพันธนาการ เมื่อนั้นวิญญาณจะเข้าถึงความรู้ที่สมบูรณ์ นักปรัชญาผู้แสวงหาความรู้ที่สมบูรณ์จึงไม่กลัวความตาย”

โปรแทกอรัส (Protagoras)


เกิด พ.ศ.63-133 ที่เมืองอับเดรา (Abdera) ซึ่งเป็นสถานที่เดียวกับเดมอคริตุสเช่นกัน ปรัชญาของท่านจัดอยู่ในประเภทญาณวิทยา หรือทฤษฎีความรู้ ท่านกล่าวว่า เมื่อมีความเห็นในเรื่องใดแตกแยกออกเป็นหลายอย่าง การตัดสินใครถูกใครผิด ทุกคนมีสิทธิ์ตัดสินเท่าเทียมกัน โปรแทกอรัสกล่าวว่า “คนเป็นเครื่องวัดสรรพสิ่ง” อะไรจริงอะไรเท็จขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแต่ละคน ใครว่าอะไรจริงก็จริงสำหรับเขาผู้นั้น คนอื่นไม่อาจคัดค้านได้ เมื่อธาเรสกล่าวว่า น้ำเป็นปฐมธาตุของโลก นั่นก็ถูกตามทัศนะของธาเรส ครั้นเฮราคลีตุสกล่าวว่า ไฟเป็นปฐมธาตุ นั่นก็ถูกตามทัศนะของเฮราคลีตุส การตัดสินว่าอะไรถูกอะไรผิดเป็นสิทธิ์ส่วนบุคคล ตามทัศนะขิงโปรแทกอรัส ความเห็นของทุกคนถูกทั้งหมด เพราะคนแต่ละคนเป็นมาตรการตัดสินความจริงเสมอกัน ความจริงสำหรับโปรแทกอรัสจึงเป็นอันเดียวกับ“ทัศนะอัตนัย” (Subjective Opinion) หรือความเห็นเฉพาะบุคคล ท่านไม่แยกทัศนะอัตนัยออกจากความจริง “ความจริงแบบปรนัย” (Objective Truth)

เดมอคริตุส (Democritus)


เกิด พ.ศ. 83-173 ที่เมืองอับเดรา (Abdera) ในแคว้นเธรส (Thrace) ท่านเป็นศิษย์ของผู้ก่อตั้งสำนักปรัชญาปรมาณูนิยม (The School of Atomists) มีชื่อว่า ลิวซิปปุส(Leucippus) ผู้มีชีวิตร่วมสมัยเดียวกันกับเอมเปโดเคลสและอานักซาโกรัส ได้ศึกษาปรัชญาจากสำนักเอเลียเป็นต้นฉบับ ท่านรุ่งเรืองถึงขีดสุดในปี พ.ศ. 103 และได้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์ของท่านขื่อ เดมอคริตุส ผลงานชิ้นสำคัญขิงเดมอคริตุส ที่ยังเหลือปรากฏอยู่ให้เราได้รู้จัก ผลงานของท่านมีมากที่สุดคนหนึ่งในสมัยโบราณกว่า 60 ชิ้น แต่ได้สูญหายไปเกือบหมดที่ตกทอดมาถึงปัจจุบันเป็นเพียงเศษนิพนธ์ ผลงานส่วนใหญ่เกี่ยวกับวิชาฟิสิกส์, อภิปรัชญญา, จริยศาสตร์, ประวัติศาสตร์, และคณิตศาสตร์

อานักซาโกรัส (Anaxagoras)


เกิด พ.ศ.43-115 ที่เมืองคลาโซเมแน (Clazomenae)เป็นนักปรัชญาคนสำคัญของนครเอเธนส์ ที่เจริญรุ่งเรืองที่สุด และเป็นยุคทองกล่าวคือ มีนักปฏิมากรเอกอย่างฟีเดียส, เฮโรโดตุสผู้เป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์, ท่านเป็นตระกูลที่มั่งคั่ง ได้สละสมบัติออกเดินทางแสวงหาความรู้ทางปรัชญา และวิทยาศาสตร์ และเปิดสำนักสอนปรัชญาที่กรุงเอเธนส์ ได้สร้างผลงานไว้เป็นหนังสือปรัชญามมีชื่อเรียกว่า” ธรรมชาติ” (On nature) ท่านเชื่อเช่นเดียวกับสำนักเอเลีย ท่านเห็นว่า สิ่งทั้งหลายไม่อาจเกิดมีขึ้นจากความว่างเปล่า ส่วนประกอบของโลกได้ลอยคว้างอยู่ในห้วงอวกาศ โดยผสมปนเปสับสนยุ่งเหยิง จนกระทั้งได้มีพลังอย่างหนึ่งมารวบรวมส่วนประกอบเหล่านั้นเข้าเป็นระเบียบ ดังนั้นโลกจึงเกิดขึ้นอันเป็นผลต่อเนื่องจากการผสมของส่วนประกอบเหล่านั้น และปฐมธาตุของโลกตามคำกล่าวของท่านต้องมีจำนวนมากกว่านี้ และได้อธิบายต่อไปอีกว่า ในข้าวเมล็ดหนึ่งมีธาตุของเส้นผมผสมอยู่ ธาตุนั้นได้แยกตัวไปสร้างเส้นผม ในเมล็ดข้าวนั้นยังมีธาตุอื่น ๆ อีกมากผสมอยู่ เช่นธาตุกระดูกที่แยกไปสร้างกระดูก บางธาตุแยกไปสร้างเนื้อ ในเมล็ดข้าวจึงมีธาตุจำนวนนับไม่ถ้วน แต่ละธาตุก็เป็นความจริงเท่า ๆ กัน เมื่อเปรียบเทียบไปถึงสิ่งทั้งหลายในโลก แต่ละธาตุมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง เป็นความจริงสูงสุดเท่า ๆ

เอมเปโดเคลส (Empedocles)

พ.ศ.48-108 เป็นชาวเมืองอะกรีเจนตุม ตั้งอยู่ภาคใต้ของเกาะซิซิลี ท่านเกิดในตระกูลมั่งคั่ง บิดาเป็นนักการเมือง ท่านเป็นนักการเมือง,นักพูด,กวี,แพทย์,นักสอนศาสนา และนักปรัชญา ท่านมีผลงานเป็นบทกวีไว้ 2 เรื่อง เรื่องแรกว่าด้วยจักวาลวิทยา มีชื่อเรื่องว่า” ธรรมชาติ” (On nature) เรื่องที่ 2 เกี่ยวกับคำสอนทางศาสนา ชื่อเรื่องว่า”ชำระมลทิน” (Purification) ท่านได้นำหลักปรัชญาทั้งสองอันสุดโต้งมาผสมผสานกัน สำนักแรกคือปรัชญาของเฮราคลีตุสมีทัศนะว่า โลกเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความคงที่ถาวรไม่มีอยู่จริง สำนักที่สองคือเอเลียมีทัศนะตรงกันข้ามว่า โลกเที่ยงแท้คงที่ ความเปลี่ยนแปลงต่างหากเป็นภาพลวงตาดังนั้น เอมเปโดเคลส ท่านกล่าวว่า โลกนี้ไม่เปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เพราะปฐมธาตุของโลกเป็นสิ่งคงที่ถาวร ไม่มีการเกิดดับ โลกเกิดจากการผสมผสานกันของปฐมธาตุเหล่านั้น เมื่อปฐมธาตุรวมตัวกันหรือแยกจากกันเราก็บอกว่า โลกกำลังเปลี่ยนแปลง นี่เป็นการเปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวเท่านั้นเอง การเปลี่ยนแปลงเกิดจากการที่ปฐมธาตุโยกย้ายตำแหน่ง แต่ปฐมธาตุเองไม่ได้เปลี่ยนแปลง ดังนั้น เมื่อมองไปที่สรรพสิ่ง ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของปฐมธาตุ เราจะพบความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพราะปฐมธาตุซึ่งเป็นส่วนประกอบได้โยกย้ายตำแหน่ง ถ้ามองไปที่ปฐมธาตุ เราไม่พบความเปลี่ยนแปลง ปฐมธาตุไม่มีเกิด ไม่มีดับ ใครทำลายไม่ได้ เอมเปโดเคลสจึงกล่าวย้ำว่า เมื่อมองไปที่ปฐมธาตุจะพบความเที่ยงแท้คงที่ของโลก เมื่อมองไปที่สิ่งต่าง ๆ อันเป็นส่วนผสมของปฐมธาตุ เราจะพบความเปลี่ยนแปลงของโลก ดังนั้น โลกจึงทั้งเปลี่ยนแปลงและไม่เปลี่ยนแปลงในเวลาเดียวกัน

เซโนแห่งเอเลีย (Zeno of elea)


ปรัชญาสำนักเอเลียคนนี้ เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งมีชื่อเรื่องว่า “ข้อโต้แย้ง” (Disputation) จุดประสงค์ของการเขียนหนังสือเล่มนี้ก็คือ เพื่อป้องกันคำสอนของปาร์มีนิเดสจากการโจมตีของฝ่ายตรงข้าม และทำหน้าที่เป็นเพียงผู้สนับสนุนอาจารย์ของตนเท่านั้น นักปรัชญารุ่นหลังเรียกวิธีโต้ตอบของเซโนว่า “วิภาษาวิธี” (Dialectic) ซึ่งเป็นวิธีอ้างเหตุผลที่นักปรัชญายุคต่อมาอย่างเช่น โสคราตีส พลาโต้ ค้านท์ และเฮเกล นิยมใช้ อาริสโตเติ้ลยกย่องเซโนว่าเป็นบิดาแห่งวิภาษาวิธี นักปรัชญาฝ่ายค้านไม่เห็นด้วยกับปาร์มีนิเดส เช่นนักปรัชญากลุ่มไพธากอรัสคัดค้านว่า สรรพสิ่งจะเป็นสิ่งเดียวไม่ได้ สรรพสิ่งต้องเป็นสรรพสิ่งกล่าวคือ โลกนี้เต็มไปด้วยความเป็นจริงหลายสิ่งหลายอย่าง ความมากหลายเป็นเรื่องมีอยู่จริง นอกจากนี้นักปรัชญากลู่มเฮราคลีตุสก็คัดค้านสำนักเอเลียบางว่า ความเป็นจริงไม่คงที่ถาวร โลกนี้เป็นเวทีแห่งความเปลี่ยนแปลง ทุกสิ่งในโลกเลื่อนไหลไปเป็นกระแสความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงเป็นของจริง ความคงที่ถาวรต่างหากที่เป็นมายา

ปาร์มีนิเดส (Parenides)


ท่านประยุกต์คำสอนของอาจารย์ (เซโนฟาเนส) โดยได้แนวความคิดจากข้อความที่ว่า”สรรพสิ่งในโลกคือพระเจ้า” และ” พระเจ้าไม่เคยเปลี่ยนแปลง” จึงนำมาสร้างหลักปรัชญาที่ว่าด้วยความเที่ยงแท้คงที่ของโลก และท่านได้เขียนหนังสือปรัชญาไว้เป็นบทกวีแบ่งเป็นสองภาค ภาคแรกชื่อ “วิถีแห่งความจริง”(Way of truth) ภาคสองชื่อ “วิถีแห่งความลวง” (Way of seeming)ท่านไม่เห็นด้วยกับการที่เฮราคลีตุสกล่าวว่าสรรพสิ่งในโลกมีอันต้องเปลี่ยนแปลงเป็นธรรมดา เช่นไฟแปรรูปเป็นลม จากลมเป็นน้ำ จากน้ำเป็นดิน แต่ท่านมีความเห็นว่า การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องที่ท่านยอมรับไม่ได้ ท่านบอกว่า การเปลี่ยนแปลงไม่มีอยู่จริง คิดดูว่าไฟแปรรูปเป็นลมได้โดยวิธีใด ในช่วงที่ไฟจะเปลี่ยนแปลงเป็นลมนั้น มีภาวการณ์อย่างไรเกิดขึ้น เป็นไปได้ไหมว่าไฟดับไปก่อนแล้วลมจึงเกิดขึ้นแทนที่ หรือว่าไฟไม่ได้มอดดับหายไป แต่ทว่าได้เปลี่ยนตัวเองเป็นลมโดยอัตโนมัติ ?

เซโนฟาเนส (Xenophanes)


เกิดก่อน ค.ศ.570-480 เป็นนักปรัชญา โดยท่านชอบแต่งบทกวีนิพนธ์ไว้เป็นมหากาพย์ เพลงโศลก และกลอนเสียดสี ท่านไม่ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับปรัชญาโดยตรง แต่ปรัชญาของท่านมีสอดแทรกในบทกวีที่ท่านนิพนธ์นั่นเอง คำสอนของท่านมุ่งแก้ไขศรัทธาในศาสนาของประชาชน และเห็นว่าประชาชนในสมัยนั้น มีศรัทธาที่ผิดในพระเจ้า ท่านพยายามแสดงศรัทธาที่ถูกต้องแก่ประชาชน โดยมุ่งปฏิรูปศาสนาใหม่ ความเชื่อที่ผิดของชาวกรีกในยุกนั้น เชื่อว่ามวลมนุษย์อยู่ภายใต้เทวลิขิตของพระเจ้า มนุษย์ต้องบูชาบวงสรวงพระองค์ เพื่อให้พระองค์โปรดปรานประทานพร ส่วนผู้ใดบังอาจทำให้พระองค์พิโรธ ผู้นั้นจะถูกลงโทษอย่างสาสม เซโนฟาเนสกล่าวให้ความเห็นว่า เป็นความเชื่อที่ผิด เพราะเทพเจ้าไม่ควรมีอารมณ์ โลภ โกรธ หลง เหมือนมนุษย์ เทพเจ้าควรบริสุทธิ์ผุดผ่องมากกว่า ตามตำนานกรีกเล่าว่า เทพเจ้ามีการเกิดและจุติจากสวรรค์ บาวองค์ประกอบทุจริต บางองค์ประพฤติผิดในลูกเมียคนอื่น

เฮราคลีตุส (Heraclitus)


เกิดก่อน ค.ศ.535-475 ในเมืองเอเฟซุส (Ephesus) เป็น 1ใน12 นครรัฐที่สังกัดอยู่ในอาณานิคมกรีกกลู่มไอโอเนีย ท่านเป็นเชื้อพระวงค์แห่งนครรัฐเอเฟซุส ท่านสละสิทธิ์ในราชสมบัติ บำเพ็ญตนเป็นนักปรัชญา จนประสบความสำเร็จจนมีชื่อเสียง ท่านประกาศตนว่าได้พบปรีชาญาณหยั่งเห็นปรัชญา (Philosophy Insight) ท่านค้นพบสิ่งแปลกใหม่และดีเด่นเหนือผู้ใดทั้งหมด อย่างเช่น ไพธากอรัส และเซโนฟาเนส

ท่านได้เขียนตำราไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า “ธรรมชาติ” (On nature) ต่อมาได้กระจัดกระจายหายไปเหลือไว้แต่เศษนิพนธ์ เป็นคำพูดสั้นๆว่า “การเรียนมากไม่ช่วยให้เข้าใจมาก” หรือ ”ถ้าท่านไม่พยายามคาดคิดในแง่มุมที่คนคิดไม่ถึง ท่านจะไม่มีวันค้นพบความจริง เพราะความจริงพบได้ยากมาก”โดยท่านไม่พยายามอธิบายเหมือนจงใจให้เข้าใจยาก และอ้างว่า ท่านเขียนปรัชญาสำหรับปัญญาชน (Intelligentsia) โดยเฉพาะ หากว่าสามัญชนไม่เข้าใจ ก็ถือว่าเป็นกรรมของผู้นั้น เหตุนี้ เฮราคลีตุส จึงได้ฉายาว่า “ผู้อำพราง” (The obscure)

ฉะนั้นนักปรัชญาสำนักไมเลตุสสนใจเรื่องปฐมธาตุของโลก ไพธษกอรัสศึกษาเรื่องทฤษฎีจำนวนเลข ส่วนเฮราคลีตุสค้นคิดเรื่องความเปลี่ยนแปลง (change) หรืออนิจจตา เฮราคลีตุสจึงเป็นนักปรัชญากรีกคนแรกที่คิดเรื่องนี้ เมื่อเปรียบเทียบแนวคิดของธาเรสบอกว่า ปฐมธาตุคือน้ำได้แปรรูปเป็นไฟหรือดินนั้นเท่ากับว่า ธาเรสยอมรับว่า ความเปลี่ยนแปลงมีอยู่ แต่ขอไปที ท่านไม่ได้เก็บเรื่องนี้ว่าวิเคราะห์อย่างจริงจัง ต่อมาเฮลาคลีตุสเห็นว่า นักปรัชญาไม่ควรมองข้ามความเปลี่ยนแปลง ท่านได้คิดเรื่องนี้และไขความกระจ่าง

เฮราคลีตุสกล่าวว่า ความเปลี่ยนแปลงเป็นลักษณะที่แท้จริง ของสรรพสิ่งทุกสิ่งเป็นอนิจจัง มันเกิดขึ้นตั้งอยู่แล้วดับไปเป็นธรรมดา สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น สิ่งนั้นจะเปลี่ยนสภาพหนึ่งไปสู่สภาพหนึ่ง เหมือนคนที่จะเปลี่ยนสภาพเด็กไปเป็นคนหนุ่มสาว และจากหนุ่มสาวเข้าสู่วัยชรา ไม่มีใครต้านกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลงนี้ได้ ใครเล่าจะสามารถคงความหนุ่มสาวไว้เป็นศตวรรษ ไม่มีทาง มนุษย์และสรรพสิ่งมีธาตุแท้เหมือนกันคือ ต้องเปลี่ยนแปลง

เฮราคลีตุสยังได้กล่าวอีกว่า”ทุกสิ่งทุกอย่างเลื่อนใใหลไปเป็นกระแส” ดุจดังสายน้ำใหลไปไม่หยุดนิ่ง ในโลกนี้ไม่มีสิ่งใดเที่ยงแท้คงที่แม้นาทีเดียว จุดที่เฮลาคลีตุสต้องการเน้นจากเรื่องนี้ก็คือ ในโลกนี้ไม่มีอะไรคงเดิม แม้แต่คนที่เราพบจำเจอยู่ทุกวันนั่นก็เถอะ เขาไม่ใช่คนหน้าเดิมหรอก เพราะนอกจากกระแสความคิดของเขาจะเปลี่ยนไปทุกขณะแล้ว ใบหน้าของเขาก็ยังเปลี่ยนไปตลอดเวลา จึงกล่าวได้ว่า ในโลกนี้ไม่มีอะไรแน่นอน แม้แต่ปฐมธาตุของโลก เฮลาคีลตุสคิดต่อไปว่า โลกที่ปลี่ยนแปลงตลอดเวลานี้เกิดมาจากอะไร ? และลงความเห็นว่า เนื่องจากสรรพสิ่งในโลกมีความเปลี่ยนแปลงเป็นธรรมชาติ และไม่เห็นด้วยกับความคิดที่เสนอว่า น้ำ,อนันต์,หรืออากาศเป็นปฐมธาตุของโลก เพราะเฮราคลีตุสเห็นว่า ทั้งสามสิ่งเป็นสิ่งที่คงที่ถาวรไม่รู้จักเปลี่ยนแปลง จึงคิดว่าสิ่งใดเป็นปฐมธาตุของโลก สิ่งนั้นต้องมีพลังงานเปลี่ยนแปลงในตัวเอง แต่เนื่องจากไฟมีพลังเปลี่ยนแปลง ดังนั้นไฟจึงเป็นปฐมธาตุของโลก ท่านกล่าวว่า”โลกนี้ซึ่งเป็นโลกเดียวกันสำหรับทุกคน ไม่มีเทพเจ้าองค์ใดหรือมนุษย์คนใดสร้างขึ้นมา แต่ทว่าโลกนี้ได้เป็น กำลังเป็น และรู้จักเป็นไฟอมตะ (Everliving Fire) เมื่อไฟมีลักษณะแปรปรวนเปลี่ยนได้หลายอย่าง เปลี่ยนแปลงได้ง่าย ไฟเป็นธาตุดั่งเดิมของโลก เพราะไฟแปรรูปเป็นสรรพสิ่ง โดยระยะแรกไฟแปรรูปจากลม จากลมเป็นน้ำ จากน้ำเป็นดิน นี่เป็นการแปรรูปแบบ”ทางลง”(Downnward Path) นอกจากนี้ดินอาจแปรรูปเป็นน้ำ จากน้ำเป็นลม และจากลมเป็นไฟ เป็นการแปรรูปแบบ “ทางขึ้น” (Upward Path) เมื่อไฟแปรรูปเป็นสิ่งอื่นดังนี้ สรรพสิ่งจึงล้วนเป็นไฟ ดินคือไฟ หินคือไฟ วิญญาณคือไฟ และพระผู้เป็นเจ้าก็คือไฟ ทุกสิ่งคือไฟ และไฟคือทุกสิ่ง เหตุนั้น “ ทุกสิ่งกลายเป็นสิ่งเดียว และสิ่งเดียวกลายเป็นทุกสิ่ง” เพราะมีธาตุแท้อย่างเดียวคือมาจากไฟ สรรพสิ่งกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เช่น สิ่งที่เป็นคู่ ชนิดขัดแย้งกัน, เย็นกับร้อน, ดีกับชั่ว, หรือเป็นกับตาย แต่ก็เป็นความขัดแย้งเพื่อการประสาน เป็นการแตกร้าวเพื่อการรวมตัวกันใหม่ เพื่อการดำรงอยู่ ท่านกล่าวว่า “ ความขัดแย้งก่อให้เกิดความสามัคคี การแตกร้าวก่อให้เกิดความกลมกลืนบรรเจิดสุข สรรพสิ่งเกิดมาจากความขัดแย้ง “ และ “สงครามหรือความขัดแย้งเป็นบิดาและราชาแห่งสรรพสิ่ง”

เฮราคลีตุสกล่าวว่า ถ้าเรามองโลกในมุมหนึ่ง เราจะพบแต่สิ่งขัดแย้งกัน แต่ถ้ามองโลกในมุมอื่น เราจะพบความกลมกลืนเป็นอันเดียวกันของสรรพสิ่ง คนธรรมดาจะเห็นความขัดแย้งในสิ่งทั้งหลาย แต่ผู้เข้าถึง “ วจนะ”(Logos) จะพบเอกภาพในสรรพสิ่ง เขาจะเข้าใจแจ้มแจ่งว่า เย็นไม่ต่างจากร้อน สุขไม่ต่างจากทุกข์ เพราะเย็นก็คือร้อนน้อย ร้อนก็คือเย็นน้อย และสุขคือทุกข์น้อย ทุกข์ก็คือสุขน้อย มันเปลี่ยนแปลงสลับกันไปมา เพราะฉะนั้นในแต่ละคู่ย่อมมีการเปลี่ยนแปลงสลับไปมา เพราะคุณสมบัติทุกอย่างต้องเปลี่ยนแปลง ไม่มีอะไรคงเดิม และท่านเป็นผู้ให้ความหมายของคำว่า”วจนะ” เมื่อการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบมีแบบแผน เป็นดังจักรวาล(Cosmos) ที่มีกฏเกณท์ สรรพสิ่งในจักรวาลเกิดขึ้นเปลี่ยนแปลงและดับภายใต้”มาตรการที่แน่นอน” (Fixed Measure) มาตรการอันนั้นได้แก่ “กฏแห่งความเปลี่ยนแปลง”(Law of Change) ดังนั้นไฟจำต้องแปรรูปเป็นสรรพสิ่ง เหตุนั้นความเปลี่ยนแปลงในโลก เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ความเปลี่ยนแปลงเป็นของจริง ไม่ใช่เหตุบังเอิญ นี่คือหลักปรัชญาของเฮราคลีตุส

สำนักเอเลีย (The Eleatic School) เป็นชื่อนครรัฐหนึ่งของกรีกดินแดนภาคใต้ของคาบสมุทรอิตาลี หลักปรัชญาของสำนักนี้ขัดแย้งตรงกันข้ามกับปรัชญาของสำนักเฮราคลีตุส ในขณะที่เฮราคลีตุสสอนว่า โลกเป็นอนิจจังหรือเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สำนักเอเลียกลับสอนว่า โลกเที่ยงเป็นนิจนิรันดร์ ความเปลี่ยนแปลงใดๆ ในโลกเป็นเพียงภาพลวงตา นักปรัชญาคนสำคัญของสำนักเอเลียประกอบด้วย เซดนฟาเนส ปาร์มีนิเดส และเซโนแห่งเอเลีย

ไพธากอรัส (Pythagoras)


เกิดก่อน ค.ศ.570-497 ที่เกาะซามอส (Samos) เป็นนครรัฐที่สังกัดกลุ่มไอโอเนีย ดังนั้นนครรัฐซามอสกับนครรัฐไมเลตุส จึงอยู่ในเครือเดียวกัน ไพธากอรัสเดินทางไปศึกษาที่ประเทศอียิปต์ ต่อมาได้จัดตั้งสมาคมของตนเองขึ้น เพื่อจุดประสงค์ทางศาสนา จึงไม่นับเป็นสำนักปรัชญาเพราะปฏิบัติเคร่งครัดเยี่ยงนักพรต แต่งกายแบบเดียวกัน ห้ามบริโภคเนื้อสัตว์,ถั่ว เป็นต้น
จุดประสงค์ในการปฏิบัติเช่นนี้ ก็เพื่อความหลุดพ้นจากความเวียนว่ายตายเกิด ผู้มีศรัทธาในตัวไพธากอรัสได้ยกย่องท่านเป็นศาสดาแห่งศาสนาที่สอน”วิธีแห่งการหลุดพ้น”(The Way of Salation) ท่านจะสอนเฉพาะสมาชิกอันเป็นสาวกของตนเองเท่านั้น ไพธากอรัสสอนว่า คนเราตายแล้วเกิด วิญญาณของคนเราไม่ดับสูญ แต่จะเวียนว่ายตายเกิดไปตามผลกรรม ท่านว่าตัวท่านระลึกชาติได้ เคยเกิดเป็นต้นไม้,สัตว์,คน ท่านว่าวิญญาณของคนเราจุติมาจากสวรรค์ของพระผู้เป็นเจ้า เมื่อวิญญาณได้สูญเสียความบริสุทธิ์ผ่องใส ด้วยการควบคุมความต้องการทางการตามแบบที่สมาชิกของสมาคมไพธากอรัสถือปฏิบัติ เมื่อนั้นแหละวิญญาณจึงจะบริสุทธิ์ พอที่จะคืนกลับทิพยสถานของพระผู้เป็นเจ้าและเป็นอันหลุดพ้นจากสังสารวัฏ ไพธากอรัสเรียกผู้ปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้นว่า”นักปรัชญา” และได้แบ่งบุคคลออกเป็น 3 ประเภทเหมือนพระพุทธเจ้า เปรียบเทียบบุคคลเป็นดอกบัว 4 เหล่า และไพธากอรัสเป็นคนแรกที่เรียกตัวเองว่า”นักปรัชญา”(Philosopher) และนักปรัชญาในทัศนะของไพธากอรัสก็คือ ”คนที่รักในความฉลาดรอบรู้ ” (Philosophoi) คำว่า ”Philosophoi” ในภาษากรีกได้กลายมาเป็น ”Philosopher”(นักปรัชญา) ในภาษาอังกฤษ ไพธากอรัสเป็นนักคณิตศาสตร์ ท่านเป็นผู้ค้นพบทฤษฎีบทที่ 47ของเรขาคณิตแบบยูคลิค ปรัชญาของท่านจึงว่าด้วยทฤษฎีจำนวนเลข (Number) เป็นลักษณะสำคัญที่สุดของสรรพสิ่งในโลก เหตุผลมีอยู่ว่า สิ่งของต่างๆล้วนมีคุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง คือมีสี,กลิ่น,รส และความอ่อนแข็ง ดังนั้นคุณลักษณะเหล่านั้นก็ไม่ใช่สิ่งถาวร เพราะเราอาจจินตนาการถึงของบางอย่างที่ไม่มีสีและกลิ่น จำนวนต่างหากเป็นลักษณะของสิ่งทั้งหลาย เราไม่อาจจินตนาการถึงของสิ่งหนึ่งหรือสองสิ่งเสมอ คำว่า”หนึ่ง,สอง” แสดงให้เห็นว่า จำนวนเลขติดอยู่ในสรรพสิ่งตลอดเวลา
สรุปแล้ว ไพธากอรัสใช้ทฤษฎีจำนวนเลข มาเป็นเหตุผลในการอ้างถึงสรรพสิ่งในโลก โดยการกำหนดด้วยตัวเลข ให้มีจำนวนนับเท่ากับสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้เกิดแนวความคิดที่มีกฎและระเบียบเป็นแบบแผนของคนยุคต่อมา แต่ไพธากอรัสไม่ได้บอกว่า จำนวนเลขเป็นปฐมธาตุของโลกอย่างที่บางคนเข้าใจ แล้วปฐมธาตุของโลกคืออะไร ? ปฐมธาตุของโลกคือหน่วย (Unit) สิ่งทั้งหลายอันรวมถึงจำนวนเลขเกิดมาจากหน่วย หน่วยนั้นหรือจุดรวมกันทำให้เกิดเส้น เส้นรวมกันทำให้เกิดเนื้อที่ เนื้อที่รวมกันทำให้เกิดปริมาตร ใจความปรัชญาของไพธากอรัสจึงมีอยู่ว่า ปรมาณูเป็นปฐมธาตุของโลก เมื่อปรมาณูรวมตัวกันในลักษณะที่เลียนแบบจำนวนเลข สรรพสิ่งในโลกจึงเกิดขึ้น ดังนั้นไพธากอรัสจึงเป็นปรัชญาอันดับแนวหน้าของนักปรัชญากรีกโบราณ.

อานักซิเมเนส (Anaximenes)


เป็นศิษย์ของ อานักซิเมนเดอร์ ท่านสนใจปัญหาเรื่องปฐมธาตุเหมือนกัน ท่านบอกว่า น้ำและอนันต์ล้วนไม่ใช่ปฐมธาตุของโลก อากาศต่างหากเป็นปฐมธาตุของโลก เพราะอากาศแผ่ขยายออกไปไม่มีที่สิ้นสุดและมีพลังขับเคลื่อนในตัวเอง อากาศจึงเคลื่อนไหวตลอดเวลา ดังนั้นสรรพสิ่งจึงเกิดขึ้น ท่านอธิบายว่า เวลาอากาศเคลื่อนตัวออกห่างจากกันและกัน อากาศเกิดการขยายตัว (Rerefaction) ปริมาณของอากาศจะเจือจางลง หากเจือจางถึงขีดอากาศจะกลายเป็นไฟ และลูกไฟที่ลอยอยู่บนท้องฟ้าก็กลายเป็นดวงดาว ในทำนองกลับกัน ถ้าอากาศเคลื่อนเข้ารวมตัวกัน หรือมีอาการอัดตัว (Condensation) ความเข้มข้นของอากาศมีมาก อุณหภูมิในอากาศจะลดลง อากาศจะมีความเย็นมากขึ้นแล้วจับตัวเป็นก้อนเมฆ ถ้าอัดตัวควบแน่นยิ่งขึ้น อากาศจะกลายเป็นน้ำเป็นดินเป็นหินได้ทีเดียว ดังนั้นไม่ว่าของแข็งของเหลวและก๊าซ ล้วนมีต้นกำเนิดมาจากอากาศทั้งสิ้น เหตุนี้อากาศจึงเป็นปฐมธาตุของโลก

สรุปข้อเปรียบเทียบ

เมื่อทำการศึกษาแล้วเห็นได้ว่า ปรัชญาของอานักซิมานเดอร์มีเหตุผลดีกว่าของธาเรส แต่มีปัญหาว่า “อนันต์” คืออะไร ถ้าเทียบอนุภาคหรือส่วนที่เล็กที่สุดของวัตถุและสสาร คือปรมาณูหรืออะตอม (Atom) ซึ่งเล็กสุดจนแบ่งออกไม่ได้ ดังนั้นในทัศนของนักวิทยาศาสตร์ ปฐมธาตุของโลกจึงหน้าจะได้แก่ปรมาณูนั่นเอง อันมีส่วนประกอบย่อยสามส่วน คือโปรตรอนหรือประจุไฟฟ้าบวก อิเลคตรอนคือประจุไฟฟ้าลบ และนิวตรอนหรือประจุไฟฟ้าเป็นกลาง ดังนั้นปรมาณูจึงไม่ใช่วัตถุที่เล็กที่สุด แต่ปรมาณูเป็นพลังงานหรือประจุไฟฟ้า และอนุภาคที่เล็กที่สุดของสสารวัสดุจึงเป็น”พลังงาน”(energy) ชนิดนี้นั่นเอง พลังงานนี้ไม่มีรูปร่างและไม่ปรากกแก่สายตาของคนทั่วไป มันเป็นธาตุเดิมของสรรพสิ่ง พลังงานเป็นปฐมธาตุของโลก และพลังงานนี้ก็คงเป็นสิ่งเดียวกับสิ่งที่อานักซิมานเดอร์ เรียกว่า”อนันต์”

ดังนั้นคำถามที่ว่า”อนันต์” คืออะไร จึงเปรียบเทียบได้ว่า “อนันต์” คือพลังงานตามแนวความคิดของนักวิทยาศาสตร์ต่อมาใน ค.ศ.ที่ 19 และ20 ในเรื่องของประจุไฟฟ้าและพลังงาน

ส่วนปรัชญาของอานักซิเมเนส อธิบายว่า อากาศกลายเป็นสรรพสิ่งได้อย่างไร เพราะท่านอ้างการขยายตัวและการอัดตัวของอากาศ ว่าเป็นตัวการให้เกิดสรรพสิ่ง ซึ่งตรงนี้ธาเรสอธิบายไม่ชัดว่า ไฉนน้ำจึงแปรรูปเป็นสรรพสิ่ง และอานักซิมานเดอร์ก็ไม่ขยายความว่า อนันต์กลายเป็นสรรพสิ่งได้อย่างไร ส่วนอานักซิเมเนส แม้จะอธิบายไว้ค่อนข้างชัดเจนว่า อากาศเปรี่ยนสภาพเป็นสรรพสิ่ง ด้วยกระบวนการขยายตัวและอัดตัว ถึงกระนั้นการที่ท่านบอกว่า อากาศเป็นปฐมธาตุ ฏ็เท่ากับถอยหลังไปเรียนแบบธาเรส ผู้เสนอว่าปฐมธาตุมีรูปแบบเป็นน้ำ ต่างกันตรงที่ว่า ปฐมธาตุของอานักซิเมเนสมีรูปแบบเป็นอากาศ ดังนั้นอานักซิมานเดอร์ไปได้ไกลกว่า เพราะท่านเสนอว่า ปฐมธาตุมีรูปแบบเป็นปฐมธาตุไม่มีรูปแบบอยู่ก่อน แต่เป็นสารไร้รูปที่เรียกว่า”อนันต์”หรือ”พลังงาน”

การศึกษาปรัชญาจากสำนักไมเลตุสช่วยให้เราค้นพบว่า นักปรัชญากรีกโบราณเริ่มปรัชญาด้วยความสงสัยเกี่ยวกับโลกภายนอก หรือธรรมชาติรอบตัว ดังนั้นปฐมธาตุที่นักปรัชญาคิด จึงเป็นข้อสมมติฐานทางวิทยาศาสตร์ จึงกล่าวได้ว่า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีแนวความคิดมาจากนักปรัชญายุคโบราณนั่นเอง.

อานักซิมานเดอร์ (Anaximander)


ท่านศึกษาวิชาดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์และจักรวาลวิทยา เกิดก่อนปี ค.ศ. 611 และถึงแก่กรรมในปีก่อน ค.ศ.547 ท่านเขียนหนังสือปรัชญาเรื่อง “ธรรมชาติ” (On nature) หนังสือเล่มนี้เป็นปรัชญาเล่มแรกของโลก ท่านศึกษาปรัชญามาจาก ธาเลส ท่านไม่เชื่อว่าน้ำเป็นปฐมธาตุ เพราะน้ำมีรูปแบบตายตัว มีคุณลักษณะเป็นของเหลว และมีความเย็นเป็นธรรมชาติ ดังนั้นปฐมธาตุของโลกควรจะมีความเป็นกลาง คือในตัวมันเองยังไม่เป็นอะไร ยังไม่เป็นดิน น้ำ ลม หรือไฟ ปฐมธาตุจึงเป็นสารไร้รูป (Fomless material) ที่ไม่มีรูปลักษณะเหมือนสิ่งของใดๆ ที่คนเรารู้จักมันเ)นสิ่งที่มองไม่เห็นด็วยตาเปล่า แต่มันเป็นสิ่งที่อยู่เป็นนิรันดร และแผ่ซ่านไปไม่มีที่สิ้นสุด

ดังนั้นจึงใให้ชื่อปฐมธาตุของท่านเองว่า “อนันต์“ (Infinite) คือเนื่องจากอนันต์นี้ยังไม่มีลักษณะที่แน่นอนตายตัวว่าเป็นอะไร มันจึงมีศักยภาพที่จะกลายเป็นอะไรก็ได้ และสรรพสิ่งในโลกล้วนมีแหล่งกำเนิดมาจากอนันต์

ธาเลส (Thales)


ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาของปรัชญาตะวันตก เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ก่อน ค.ส. 585 ป็นผู้ทำนายการเกิดสุริยคราส เป็น1ใน7ของบัณฑิตกรีก ทุกท่านต่างก็มีคติพจน์ (คำนิยาม)ประจำตนและคำนิยามของธาเรสก็คือ “น้ำนี้ดีที่สุด” (Water is best) โดยตั้งคำถามที่ว่า อะไรคือปฐมธาตุของโลก ? ธาเลสมองสรรพสิ่งรอบ ๆ ตัว เห็นคน ต้นไม้ ภูเขา และอื่น ๆ เขาคิดว่าสิ่งต่างๆเหล่านั้นเกิดมาจากอะไร ? แน่หละ คงไม่ใช่ฝีมือเนรมิตของเทพเจ้า โลกที่เราอาศัยอยู่คงเกิดจากการรวมตัวของผงธุลีที่เล็กที่สุด ธรรมชาติเองเป็นผู้จัดสรรนำเอาผงธุลีที่ลอยคว้างอยู่ในห้วงอวกาศมาปั้นเป็นโลก เมื่อโลกแตกสลายสรรพสิ่งก็จะกลับคืนสู่ผงธุลีดังเดิม ผงธุลีนั้นจึงเป็น“วัตถุดิบ” สำหรับสร้างโลก มันมีอยู่ก่อนสิ่งอื่นทั้งหมด “มันเป็นธาตุดังเดิม” หรือปฐมธาตุ (First Element) ของโลก ซึ่งจะต้องเป็นสิ่งที่มีอนุภาคเล็กที่สุดจนแบ่งย่อยอออกไปอีกไม่ได้แล้ว ธาเลสถามตัวเองว่า แล้วอะไรคือปฐมธาตุของโลก ? ผงธุลีที่ว่านั้นมีสภาพเป็นอะไร ? และเขาคิดว่า น้ำคือละอองธุลี หรือธาตุเดิมแท้ของโลก เพราะโลกและสรรพสิ่งเกิดมาจากน้ำ ๆเป็นปฐมธาตุทรงประสิทธิ์ภาพในการแปรรูป (Tranformation) เป็นสิ่งอื่นๆ น้ำจับตัวเป็นของแข็งก็ได้ ละลายเป็นของเหลวก็ได้ และระเหยกลายเป็นไอก็ได้ ธาเรสบอกว่า เมื่อน้ำระเหยขึ้นฟ้า ความเย็นของน้ำจะค่อยๆแปรสภาพเป็นความร้อน น้ำแปรรูปเป็นไฟ แต่เมื่อน้ำตกลงมาในรูปสายฝน แสดงว่าน้ำกำลังแปรรูปเป็นดิน เหตุนี้น้ำจึงเหมาะอย่างยิ่งที่จะเป็นธาตุเดิมของโลก

คำนิยามของปรัชญา


ปรัชญา แปลว่า ความรอบรู้ เป็นศัพท์บัญญัติ เรียกว่า Philosophy เมื่อสืบย้อนไปดูแล้วปรากฏว่าphilosophy มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า Philo + Sophia แปลว่า ความรักในความรอบรู้( Love of Wisdom ) ว่ากันตามอักษร ปรัชญาและ Philosophy มีความหมายไม่ตรงกันแท้ แต่ก็ใช้เรียกกันได้ เพราะคำทั้งสองแสดงนัยว่า วิชานี้เกี่ยวกับความรู้ กล่าวคือการแสวงหาความรู้ก็ดี จัดเป็นปรัชญาหรือPhilosophy ทั้งนั้น ปรัชญาเป็นความรู้เกี่ยวกับอะไร คำตอบมีอยู่ว่า ปรัชญาพยายามเรียนรู้ทุกสิ่ง โลกยังมีแง่มุมลึกลับอีกเท่าใด นักปรัชญาที่มักใหญ่ใฝ่สูงก้จะเรียนรู้อีกเท่านั้น เท่าที่ผ่านมานักปรัชญาเป็นผู้ค้นพบวิทยาการสาขาใหม่แห่งโลก การค้นคว้าของนักปรัชญาไม่เคยถึงจุดจบ นักปรัชญาจึงเป็นผู้บุกเบิกทางปัญญา (Pioneer)

แนวความคิดของนักปรัชญายุคโบราณ


โดยแท้ที่จริงแล้ว เราไม่อาจบ่งชัดลงไปได้อย่างแน่นอนว่า ปรัชญาตริตรองในปัญหาใดกันแน่ เราสาามารถบอกได้ชัดเจนว่า ตัวเลขเป็นเนื้อหาของวิชาเรขาคณิต ปรากฏการณ์ธรรมชาติเป็นเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์ แต่แท้จริงเราไมม่อาจกำหนดได้ว่าอะไรเป็นเนื้อหาของวิชาปรัชญา ทั้งนี้เพราะปรัชญาหมายถึง การรัก การสงสัย การมองเห็นปัญหาที่ยังเป็นปัญหา และการพยายามหาคำตอบที่เป็นไปได้สำหรับปัญหานั้น ๆ และปรัชญาก็เริ่มตั้งแต่สมัยมนุษย์ดึกดำบรรพ์จวบจนทุกวันนี้ ดังนั้นสิ่งที่เป็นปัญหาหรือสิ่งที่มนุษย์สงสัย จึงมมีอยู่มากมายจนไม่อาจให้ข้อจำกัดลงไปได้ ขอบเขตของวิชาปรัชญาจึงมีอยู่กว้างขวางมาก และก็มีวิวัฒนาการเป็นยุคสมัยต่าง ๆ พอที่จะแบ่งออกได้ดัง เช่น
  • ปรัชญาดึกดำบรรพ์ ตั้งแต่เริ่มมีมนุษย์ในโลกครั้งแรก ไม่มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
  • ปรัชญายุคโบราณ หมายถึง ปรัชญาของชนชาติโบราณนับตั้งแต่เริ่มต้นมีหลักฐานและทำการบันทึกไว้
  • ปรัชญายุคกลาง หมายถึง ปรัชญาของมนุษย์ ซึ่งอยู่ในระหว่างปี ค.ศ. 529-ปี ค.ศ. 1500
  • ปรัชญายุคใหม่ หมายถึง ปรัชญาของมนุษย์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1500 เป็นต้นจนมาถึงสมัยปัจจุบัน

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

អាដុលហ្វ៍ ហ៊ីត្លែរ

អ្នកដឹកនាំរបបផ្ដាច់ការហ្វាស៊ីសនៅប្រទេស អាល្លឺម៉ង និងជាអ្នកវាតទីកាន់កាប់ ទ្វីបអឺរ៉ុប ដីគោកក្នុងសង្គ្រាមលោកលើកទី ២ ។

ហ្សូសេហ្វ ស្តាលីន

Joseph Stalin
ទទួលតំណែងពីឡេនីនក្នុងនាមជាអ្នកដឹកនាំសហភាពសូវៀត និងបានលើកតម្តើងប្រជាជាតិមួយឱ្យប្រកួតប្រជែងជាមួយសហរដ្ឋអាមេរិក ក្នុងការដឹកនាំពិភពលោក ។

បេនីតូ មូសូលីនី

Benito Mussolini
ជាអ្នករៀបចំចាត់តាំងបង្កើតរបបផ្ដាច់ការហ្វាស៊ីសនៅអ៊ីតាលី
និងជាសម្ព័ន្ធជិតស្និទ្ធជាមួយ អាដុលហ្វ៍ ហ៊ីត្លែរ នៅអាល្លឺម៉ង់
        

วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รัฐหรือประเทศ ประกอบด้วยลักษณะที่สำคัญดังนี้

๑. มีดินแดน (land)
๒. มีประชากร (Population)
๓. มีรัฐบาล (Government)
๔. มีอำนาจอธิปไตย (Sovereignty)

หน้าที่การจัดการ

1. Planning (การวางแผน)
2. Organizing (การจัดองค์การ)
3. Commanding (การสั่งการ)
4. Coordinating (การประสานงาน)
5. Controlling (การควบคุม)

กระบวนการจัดการ

1. Planning (วางแผน)
2. Organizing (จัดองค์การ)
3. leading (การเป็นผู้นำ)
4. Evaluation (ประเมินผล)

หน้าที่นักบริหาร

๑. ประสานงานภายในองค์การ
๒. รักษาสมาธิองค์การ
๓. กำหนดเป้าหมาย
๔. ใช้ศิลปให้คนทำงาน
๕. ทำงานด้วยรับผิดชอบ

กระบวนการบริหาร

1. Planning
2. Organizing
3. Staffing
4. Directing
5. Coordinating
6. Reporting
7. Budgeting

วันพุธที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ปรัชญาการเมืองสมัยปัจจุบันและสมัยใหม่

ปรัชญาการเมืองสมัยปัจจุบันและสมัยใหม่

๑.การเกิดขึ้นของปรัชญาการเมืองสมัยใหม่
ความเข้าใจในเรื่อง  โชคชะตา  เคยมีมาในบรรดานักปรัชญาการเมืองชาวคริสต์  เช่น  ออกัสติน  ที่เสนอไว้ใน  City  of  God  ซึ่งกล่าวถึงมนุษย์ในฐานะประชากรของนครแห่งสวรรค์และนครแห่งโลก  ซึ่งเป็นพลังของความดีและความชั่วที่ต่อสู้กันในใจมนุษย์ 

องค์อธิปัตย์กับสังคมการเมือง

องค์อธิปัตย์กับสังคมการเมือง

๑.ภูมิหลังและสิ่งแวดล้อมของ โธมัส  ฮอบส์
โธมัส  ฮอบส์  (Thomas   Hobbes)  เป็นนักปรัชญาและนักอักษรศาสตร์  ชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง  โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากหนังสือ ชื่อ  Leviathan  ซึ่งเป็นหนังสือเกี่ยวกับปรัชญาทางการเมืองและการปกครอง  ฮอบส์ เกิดที่เมืองมาลเมสเบอรี่  (Malmesbury)  ในแคว้นกลูสเตอร์แชร์  (Gloucestershiare)    เมื่อมารดาของเขาได้ยินข่าวเกี่ยวกับ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาการเมือง

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาการเมือง

๑.ความหมายของปรัชญาการเมือง
ปรัชญาการเมือง  เป็นสาขาหรือแขนงหนึ่งของปรัชญา (Philosophy)  ปรัชญาตามความหมายดั้งเดิม  หมายถึง  ความรักในปัญญา (love  of  wisdom) หรือ  การแสวงหาปัญญา  (quest  for  wisdom)  แต่ผู้ที่แสวงหาปัญญาหรือปรัชญาเมธี (philosopher)  แสวงหาปัญญาในเรื่องที่เกี่ยวด้วยอะไร  หลักฐานที่ปรากฏแสดงว่าปรัชญาเมธีคนแรก ๆ ได้แก่  ผู้ที่พูดถึง “ธรรมชาติ”  เพราะฉะนั้น  ธรรมชาติจึงเป็นสาระสำคัญของปรัชญา  แต่ “ธรรมชาติ”

ลัทธิเสรีนิยมประชาธิปไตย

ลัทธิเสรีนิยมประชาธิปไตย

๑.ชีวิตและผลงานของ จอห์น  ล็อค
จอห์น  ล็อค  (John   Locke)   เกิดวันที่  ๒๙  สิงหาคม  ค.ศ.๑๖๓๒  บิดาเป็นนักกฎหมาย  และเป็นหนึ่งในพวกพิวริตัน  เคยเป็นนายทหารอยู่ในกองทัพของรัฐสภาที่ต่อสู้กับพระเจ้าชาร์ลที่ ๑  เมื่อ ล็อค อายุได้  ๑๕  ปี  เข้าเรียนที่ โรงเรียนเวสท์มินส์เตอร์  (Westminster)  ซึ่งโดยธรรมเนียมแล้วนิยมกษัตริย์ตลอดมา  ปี ค.ศ.๑๖๕๒  เข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด  (Oxford)  ซึ่งมีธรรมเนียมที่นิยมกษัตริย์เช่นกัน  จึงกล่าวได้ว่า  ล็อค ได้รับการศึกษาในบรรยากาศที่จัดพื้นฐานการอบรมทางครอบครัว  และการได้รับการศึกษาเช่นนี้ 

ความคิดทางการเมืองไทย

ความคิดทางการเมืองไทย
15.1 ความคิดทางการเมืองแบบธรรมราชา
            1. ความหมายของคำว่า *ธรรมราชา
                   ธรรมราชา หมายถึง ผู้นำที่ใช้ธรรมะในการปกครองประชาชน โดยผู้นำดังกล่าวทรงไว้ซึ่งความรู้ในธรรมะของพุทธศาสนาเป็นอย่างดีหรือกษัตริย์ที่ใช้ธรรมะในการปกครองประชาชน
                   ความคิดทางการเมืองแบบธรรมราชาของพระมหาธรรมราชาลิไท มีลักษณะสำคัญ กล่าวคือ การเน้นให้เห็นถึงลักษณะของพระมหากษัตริย์ที่เป็นธรรมราชานั้น จะต้องยึดมั่นในทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร และพระราชจรรยานุวัตรตามหลักพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังต้องมีหลักปฏิบัติในการกครอง รวมทั้งประเพณีการปกครองและความยุติธรรมทางการเมืองสำหรับธรรมราชาควบคู่ไปด้วย พระมหากษัตริย์ที่เป็นธรรมราชาจะต้องเป็นผู้นำประชาชนให้ก้าวพ้นวัฏฏสังสารของโลกนี้ ให้ได้ความคิดทางการเมืองแบบธรรมราชาของพระมหาธรรมราชาลิไทนับเป็นการสร้างความชอบธรรมทางการเมืองให้กับพระองค์ในอีกทางหนึ่ง

ปรัชญาศาสนากับสังคมปัจจุบัน

ปรัชญาศาสนากับสังคมปัจจุบัน
14.1 ปรัชญาศาสนาพุทธกับสังคมปัจจุบัน
            14.1.1 ความสัมพันธ์ระหว่างพุทธศาสนากับวิถีชีวิต สังคมพุทธศาสนา
            1. ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม
          พุทธศาสนามีความเกี่ยวพันกับวิถีชาวพุทธในฐานะที่เป็นสถาบันหนึ่งของสังคมที่มีความสำคัญ ให้ความหมายและเป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชาติ เป็นที่มาและถ่ายทอดวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติไทยกล่าวโดยสรุป พุทธศาสนาเป็นเสมือนรากเหง้าแห่งความเป็นชาติและเอกลักษณ์ดั้งเดิมของชาติไทยทั้งทางด้านสังคมวัฒนธรรมและการเมือง การพิจารณาความสำคัญ บทบาท และอิทธิพลที่พุทธศานามีต่อวิถีชีวิตประชาชนชาวพุทธนั้นจะต้องคำนึงถึงส่วนประกอบอื่นๆ ซึ่งรวมกันเป็นพุทธศาสนาด้วย องค์ประกอบที่เป็นพุทธศาสนานั้นได้แก่ พระพุทธเจ้า พระพุทธธรรมคำสั่งสอน พระภิกษุสงฆ์ วัด และอุบาสกอุบาสิกา ดังนั้นการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างพุทธศาสนากับสังคมไม่ว่าจะเป็นการพิจารณาเชิงปรัชญา เชิงเศรษฐกิจ การเมือง ความเกี่ยวพันของแต่ละองค์ประกอบมีความสำคัญ ความสำคัญของแต่ละส่วนประกอบอาจจะยิ่งหย่อนกันไปก็ต่อเมื่อประเด็นปัญหาที่นำมาพิจารณานั้นเกี่ยวข้องกับเรื่องใดเป็นการเฉพาะกล่าวโดยสรุป

ปรัชญาผู้ปกครองในคัมภีร์อรรถศาสตร์ของเกาฏิลยะ

ปรัชญาผู้ปกครองในคัมภีร์อรรถศาสตร์ของเกาฏิลยะ
13.1 ปรัชญาผู้ปกครองในคัมภีร์อรรถศาสตร์ของ *เกาฏิลยะ
            1. บทวิพากษ์เบื้องต้นเกี่ยวกับอรรถศาสตร์ของเกาฏิลยะ
         ในการศึกษาเกี่ยวกับอรรถศาสตร์ผู้ศึกษาต้องประสบปัญหาที่สำคัญอันนำมาสู่ข้อจำกัดสองประการ
            ประการแรก ความรู้เกี่ยวกับตัวผู้เขียน คือ เกาฏิลยะ ว่ามีตัวตนจริงหรือไม่
          ประการที่สอง ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับอรรถศาสตร์ว่าเป็นผลงานที่เกิดขึ้นจริงในสมัยกันแน่ แต่ความสำคัญที่เป็นที่น่าสนใจของอรรถศาสตร์ที่ควรค่าแก่การศึกษามีหลายประการตั้งแต่วิธีการนำเสนอที่ผู้เขียนมิได้มีการนำเสนอความคิดของตนออกมาในทันทีทันใด แต่กล่าวถึงคำสอนอื่นก่อน และมีการยกการกระทำของกษัตริย์ในการเป็นมาตรฐานในการประเมินคำสอนผู้อื่นอยู่เสมอ เป็นต้น ในด้านเนื้อหา อรรถศาสตร์มีความยาวถึง 15 เล่มแบ่งออกเป็น 180 ตอนละ150 บท เช่น เล่มหนึ่งว่าด้วยเรื่องของกษัตริย์ เล่มที่สองว่าด้วยเรื่องของการบริหารบ้านเมืองเล่มที่สามถึงเล่มที่สี่ว่าด้วยเรื่องของกฎหมายเป็นต้น