วันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ប្រវត្តិសាស្ត្រខ្មែរ


បុរេប្រវតិ្តសាស្រ្តនៅឥណ្ឌូចិនមានប្រហែល១០០ពាន់ឆ្នាំ។ មនុស្សនៅពេលនោះបានជានាយព្រានព្រៃនិងបរកជន។ បុរាណវត្ថុវិទ្យា គិតថាមនុស្សមុនគេបំផុតគឺជាម៉ាលិសតែឥណ្ឌូចិន បានទទួលមនុស្សដែលមកពីខាងជិងនិងធើ្វជាតិពន្ទុខែ្មរ។
ប្រទេសឥណ្ឌា
សតវត្សរ៏ទី១​គ.ស.មានមនុស្សជាច្រើនមកពីប្រទេសឥណ្ឌាដែលតាំងលំនៅជាមួយមនុស្សមុនគេ។គេឲ្យសាសនា, វប្ឃកិច្ទ,ភាសា។ល។
អាណាចក្រភ្នំ និង ចេនឡា

តើប៉ុល ពត ជានរណា?


ប៉ុល ពត គឺជា​លេខា​បក្ស​កុម្មុយនិស្ត​កម្ពុជា ដែល​ជា​តំណែង​ខ្ពស់​បំផុត​នៅក្នុង​បក្ស និង​ជា​នាយក​រដ្ឋមន្រ្តី​នៃ​របប​កម្ពុជា​ប្រជាធិបតេយ្យ ដែល​គេ​ស្គាល់​ថា​ជា​ របប​ខ្មែរក្រហមរបប​ប៉ុល​ពត។ ប៉ុល ពត គឺ​ជា​មនុស្ស​ដ៏​អាថ៌កំបាំង​ម្នាក់ ដែល​ចំណាយពេល​ភាគច្រើន​នៃ​ជីវិត​របស់​គាត់ រស់​ក្នុង​ការ​លាក់​កំបាំង។ សូម្បីតែ​ឈ្មោះ និង​ថ្ងៃខែឆ្នាំ​កំណើត​ក៏​ប៉ុល ពត បាន​ផ្លាស់ប្តូរ​ដែរ។
ប៉ុល ពត តាមពិត​មាន​ឈ្មោះដើម​ថា សាឡុត ស កើតនៅ​ភូមិ​ព្រែកស្បូវ ក្នុង​ខេត្ត​កំពង់ធំ។ គេដឹង​ថា ប៉ុល ពត ​ស្លាប់ នៅ​ថ្ងៃទី១៥ ខែ​មេសា ឆ្នាំ​១៩៩៨។ ក៏ប៉ុន្តែ ប៉ុល ពត កើត​នៅ​ថ្ងៃណា ខែណា ឆ្នាំណា នៅតែ​ជា​បញ្ហា​មិន​ច្បាស់លាស់​ដដែល។ យោងតាម​វិទ្យុជាតិ​កម្ពុជា​ប្រជាធិបតេយ្យ ដែល​បាន​ផ្សាយ​នៅ​ឆ្នាំ​១៩៧៧ ប៉ុល ពត កើត​នៅ​ឆ្នាំ១៩២៥។ ក៏ប៉ុន្តែ យោងតាម​ឯកសារ​ជាច្រើន ដែល​អាណាព្យាបាល​បារាំង​បាន​តម្កល់​ទុក​នៅ​ឆ្នាំ​១៩៥០ ប៉ុល ពត ឬ​សាឡុត ស កើត​នៅ​ថ្ងៃទី២៥ ខែ​ឧសភា ឆ្នាំ​១៩២៨។ ឯ​ប៉ុល ពត ខ្លួនឯង​បាន​អះអាង ថ្ងៃខែឆ្នាំ​កំណើត​ពិត​របស់​គាត់ គឺ​ខែ​មករា ឆ្នាំ​១៩២៥ ប៉ុន្តែ បាន​បន្ថយ​អាយុ​៣ឆ្នាំ ដោយ​ចុះ​ក្នុង​បញ្ជីជាតិ​ថា​កើត​នៅ​ឆ្នាំ​១៩២៨​វិញ។

ខ្មែរក្រហម​


នៅថ្ងៃទី១៧ ខែ​មេសា ឆ្នាំ​១៩៧៥ កងទ័ព​ខ្មែរក្រហម​ដណ្តើម​កាន់កាប់​ក្រុង​ភ្នំពេញ ហើយ​ផ្តួលរំលំ​ជា​ស្ថាពរ​នូវ​របប​សាធារណរដ្ឋ​ខ្មែរ របស់​ លន់ នល់។ ​រាល់​អំណាច​ទាំងអស់​ក៏ធ្លាក់​ក្នុងដៃ​ពួក​ខ្មែរក្រហម ដែល​មាន សាឡុត ស ជា​មេដឹកនាំ។ ក៏ប៉ុន្តែ ទោះជា​ក្រោយពី​ទទួលបាន​ជោគជ័យ​ហើយ​ក៏ដោយ ក៏ សាឡុត ស នៅតែ​បន្ត​លាក់បាំង​អត្តសញ្ញាណ​របស់​ខ្លួន​ដដែល។
នៅថ្ងៃទី២៣ ខែ​មេសា ឆ្នាំ១៩៧៥ ពោលគឺ មួយ​សប្តាហ៍​ក្រោយពី​កងទ័ព​ខ្មែរក្រហម​ដណ្តើម​កាន់​កាប់ក្រុងភ្នំពេញ ទើប សាឡុត ស ធ្វើដំណើរ​ចូលមក​ទីក្រុងភ្នំពេញ។ នៅពេលនោះ ប្រជាជន​ត្រូវបាន​គេ​ជម្លៀស​ចេញពី​ភ្នំពេញ​អស់​ទៅហើយ។ សាឡុត ស ចូលមក​ទីក្រុង​ភ្នំពេញ​ ដោយ​ស្ងាត់ស្ងៀម​ គ្មាន​ពិធី​អបអរសាទរ​អ្វី​ទាំងអស់។

วันอังคารที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2556

อุดมคติของมิคาเอล คอร์บาชอฟ

 
 น้อยคนที่คึดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วระหว่างอิทธิพลตะวันตกและตะวันออก ในช่วงระหว่าง ค.ส ๑๙๘๘-๑๙๙๑ ซึ่งสหภาพโซเวียดล่มสลายระบบระหว่างประเทศได้เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง เมื่อความขัดแย้งระหวา่งตะวันตกและตะวันออกได้หยุดลงและสลายเป็นประวัติศาสตร์ ซึ่งปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมีเหตุการณ์ที่สำคัญดังนี้คือ
          การประชุมสุดยอดระหว่างอมิริกา กับโซเวียด ที่มอสโก นิวยอร์ก และเจนิวา เมื่อ ๑๙๘๘ และ ๑๙๘๙ มอลต้า จากนั้นก็มีการประชุมสุดสอดกันอีก ๒ ครั้ง คือที่วอชินตัน และเฮซิงกิ เมื่อ ค.ศ ๑๙๙๐
           ส่วนสำคัญในการประชุมคือ มิคาเอล คอร์บาชอฟ ไม่พอใจในนโยบายเก่าๆของโซเวียด จึงได้ส้รางแนวคิดใหม่(New Thinking) ซึ่งมี ๔ ประการคือ
               (๑) ให้ความสำคัญของการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน(Interdependence) มากกว่าการขัดแย้งทางชนชั้น(Class Conflict)
                 (๒) ให้ความสำคัญในประเด็นปัญหาระดับโลกมากกว่าอุดมการณ์
                 (๓) การกำหนดใจตนเองของชาติ(National Self-Determination) มากกว่าการยัดเยียดระดับสังคมนิยมไปสู่ต่างประเทศ
                 (๔) ความจำเป็นที่จะต้องมีโครงสร้างความมั่นคงแนวใหม่(New Security formular) ที่ดำเนินการใช้วิธีการเมืองแทนที่การทหารในการแก้ไข้ปัญหาต่างๆ ยอมรับได้ในการที่จะมีความมั่นคงซึ่งกันและกัน(Matual Security) และสร้างกำลังทหารบนพื้นฐานของความเพียงพอที่เหตุผล(Reasonable Efficiency) การป้องกันเชิงรับ(Defensive Defense)
           ซึ่งหลักการดั่งกล่าว คอร์บาชอฟ ได้พุดในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ และประกาศลดกำลังทหารลง ๕๐๐,๐๐๐ คน ลดจำนวนรถถัง ๕๐ เปอร์เซ็น และลดจำนวนปืนใหญ่ลง

วันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556

การปฏิวัติทางการเมืองในยุโรปและอเมริกา


การปฏิวัติทางการเมืองในยุโรปและอเมริกา

ประชาธิปไตยในอังกฤษ

คำสำคัญ
            1. แมกนาคาร์ตา   2. การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์  3. Reform  Bill 
คำถามชวนคิด
เพราะเหตุใดการปฏิวัติในอังกฤษจึงเป็นการปฎิวัติโดยไม่เสียเลือดเนื้อ

การปฏิวัติในอังกฤษ

            อังกฤษเป็นประเทศที่ได้ชื่อว่าเป็นแม่บทของประชาธิปไตย ลักษณะการปกครองของอังกฤษ ถือได้ว่าเป็นแบบสถาบันกษัตริย์โดยรัฐธรรมนูญ (Constitutional monarchy) และประชาธิปไตยโดยรัฐสภา การพัฒนาการเมืองของอังกฤษมาเป็นระบอบประชาธิปไตย เกิดขึ้นตั้งแต่ปลายสมัยกลาง กล่าวคือ ใน ค.. 1215 ขุนนางบีบบังคับให้พระเจ้าจอห์นที่ 5 ยอมรับใน  กฏบัตรแมกนาคาร์ตา (Magna Carta) ซึ่งจำกัดพระราชอำนาจของกษัตริย์อังกฤษ อย่างไรก็ตามกษัตริย์อังกฤษหลายพระองค์พยายามที่จะหลีกเลี่ยงและละเมิดกฏบัตรดังกล่าว
             หลังจากสงครามกลางเมือง (Civil War) ค.ศ.1642-1649   กษัตริย์อังกฤษพระเจ้าชาร์ลสที่ 1 ถูกสำเร็จโทษ อังกฤษปกครองระบอบสาธารณรัฐชั่วระยะเวลาหนึ่ง(ค.ศ. 1649-1659)โดย โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ มีการปราบผู้ที่ไม่เห็นด้วย  ถือว่าเป็นยุคแห่งความหวาดกลัว  เกิดความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม  เกิดการสู้รบนองเลือดจนมีการประกาศยกเลิกระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของอังกฤษยุบสภาโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ เสียชีวิตลงรัฐสภาได้ฟื้นฟูระบบกษัตริย์ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งโดยเชิญกษัตริย์ในราชวงศ์สจ๊วตมาปกครอง 
            การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างถาวรเกิดขึ้นใน ค.ศ. 1688 เนื่องจากพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ไม่ยอมรับอำนาจรัฐสภา  รัฐสภาร่วมมือกับประชาชนต่อต้านจนพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ต้องสละราชสมบัติและมีการสถาปนาพระเจ้าวิลเลี่ยมที่ 1 แห่งฮอนแลด์( เมื่อมาปกครองที่อังกฤษเปลี่ยนเป็นพระเจ้าวิลเลี่ยมที่ 3 ) ร่วมกับพระนางแมรีที่ 2 การปฏิวัติในครั้งนี้ได้มีการประกาศ พระราชบัญญัติว่าด้วยสิทธิ(Bill of Rights ค.ศ. 1689) ที่ย้ำถึงสิทธิและเสรีภาพที่ชาวอังกฤษควรมีได้รับเท่าเทียมกันและอำนาจของรัฐสภามีเหนือสถาบันกษัตริย์ ซึ่งท้ายที่สุดได้เกิดการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์(Bloodless  Revolution หรือ Glorious Revolution) โดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อ ถือว่าเป็นการสิ้นสุดระบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
            อังกฤษได้พัฒนามาสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์เมื่อมีการประกาศใช้พระราช
บัญญัติปฏิรูป (Reform  Bill  ) ใน ค.. 1832 และ ค.. 1867 ซึ่งขยายสิทธิการเลือกตั้งให้กับสามัญชน    และการเพิ่มอำนาจและบทบาททางการเมืองของสภาสามัญให้มากขึ้น
สรุป   อังกฤษได้วางรากฐานการปกครองไว้ 3 ประการ คือ
            1. การมีรัฐบาลโดยได้รับความยินยอมพร้อมใจ
            2. การมีตัวแทนของประชาชน
            3. การมีกฎเกณฑ์ของกฎหมายโดยรัฐธรรมนูญ
            รัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของอังกฤษ เป็นรัฐธรรมนูญที่มิได้มีการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างเป็นทางการฉบับเดียวที่แน่นอน   ดังเช่นในประเทศอื่นๆ  บางส่วนเป็นกฎหมายที่ออกตามสถานการณ์ เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ หรือเป็นกฎที่มาจากการปฏิบัติที่เป็นประเพณีสืบกันมา

วันอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์

บทที่ ๑
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชารัฐศาสตร์
๑. ศัพท์ "รัฐศาสตร์"
          ๑.๑ รัฐศาสตร์  เป็นคำศัพท์ที่แปลมาจากภาษาต่างประเทศ  บางครั้งใช้คำต่อไปนี้ ๑, Politics ๒, Political ๓, Government ซึ่งถ้าแปลตรงตัวก็คือ การเมือง รัฐศาสตร์ และ การปกครอง ความแตกต่างของคำศัพท์ ๓ คำมีอยู่บ้าง แต่ในวงการรัฐศาสตร์ตะวันตกใช้ในความหมายแทนก็ได้ 
          ความแตกต่างระหว่างรัฐศาสตร์กับการเมือง  ที่ใช้ในภาษาไทย  คือ  รัฐศาสตร์  เป็นเรืองวิชาการ  มีการจัดระบบหมวดหมู่อย่างชัดแจ้ง  แต่  การเมือง  ใช้ใน  ๒  ความหมายใหญ่  คือ  ๑,  เป็นกิจกรรมของมนุษย์ และ ๒, มีความหมายเอนเอียงไปในทางลบหรือไม่คอยดีนัก  คือเข้าทำนองว่าเป็นความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ส่วนตัว
          ๑.๒ คำว่า การเมือง อิงรากศัพท์มาจาก Polis ซึ่งเป็นภาษากรีก และแปลว่านครรัฐอันเป็นการรวมตัวทางการเมืองแบบหนึ่งซึ่งใหญ่กว่าระดับครอบครัว หรือเผ่าพันธ์ นครรัฐในกรีกโบราณ ได้แก่ เอเธนส์ และ สปาร์ตา เป็นต้น  
          รากศัพท์ของ รัฐศาสตร์ ใช้ในภาษาอังกฤษว่า Political Science มาจากภาษาเยอรมัน คือ สตาดสวิสเซนซาฟต์ Statswissenschuft  แปลตามตัวอักษร คือ ศาสตร์แห่งรัฐ
           ๑.๓ สำหรับศัพท์ Government มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก Kybernates ซึ่งแปลว่า ผู้้ถือหางเสือเรือ มีการเปรียบเทียบว่าการเมืองการปกครอง โดยเฉพาะรัฐบาลเป็นเสมือนเรือและมี วลี รัฐนาวา (Ship of State)    
๒. รัฐศาสตร์ในโลกตะวันตก
          ความคิดเชิงรัฐศาสตร์เริ่มแรกเป็นผลของการ
                 ๑. เขียนทางประวัติศาสตร์ และ
                 ๒. ความคิดเชิงปรัชญา
          ๒.๑. อิทธิพลทางประวัติศาสตร์ 
          ในกรีกโบราณมีนักประวัติศาสตร์ เลื่องชื่อ ๒ ท่าน คือ เฮรอดคตัส (484-425 B.C) และ ธูซิดิดส์ (460-400 B.C)
          ก. เฮรอโคตัส ได้รับฉายาว่าเป็น บิดาของวิชาประวัติศาสตร์




วันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ព្រឹត្ដិការណ៍ ១៩៦៧ -១៩៧០

         ព្រឹត្ដិការណ៍ឆ្នាំ ១៩៦៧ ខែមករា ថ្ងៃទី៦ សីហនុ ចេញទៅប្រទេសបារាំងសំរាប់រយៈពេលពីរខែ។
 លន់ នល់ ឆ្លៀតអោកាសអវត្ដមានសម្ដេចសីហនុ បានរៀបចំប្រពន្ធប្រមូលស្រូវដោយពួកយោធាមួយ
ដោយពួកនេះបង់ថ្លៃទិញស្រូវតែមួយភាគបីនៃ តំលៃនៅទីផ្សារសេរីតែប៉ុណ្ណោះ។ ការនេះធ្វើទៅដោយ
មានទាំងអំពើហឹង្សា និងពេលខ្លះមានដល់អំពើឃាតកម្មផងក៏មាន។ដើម្បីធ្វើយុទ្ធនាការនេះ លន់ នល់ បានទៅស្នាក់នៅក្នុងខេត្ដបាត់តំបងដែលពីមុនក្នុងអំលុងឆ្នាំ ១៩៤៦ ដល់១៩៥៣ គាត់ធ្លាប់កាន់ការជាចៅ
ហ្វាយខេត្ដនៅទីនោះ។ខែកុម្ភៈ ថ្ងៃទី២៤ ដល់ថ្ងៃទី៣ ខែមិនា កងទ័ពអាមេរិកកាំង និង យួនខាងត្បូងចូល
កាន់កាប់ភូមិច្រកក្រាញ (ខេត្ដកំពង់ចាម) ដោយដេញប្រជាជនខ្មែរអោយចេញអស់ពីភូមិ ។ ខែមិនា ថ្ងៃទី
៩ ការយាងត្រលប់មកកម្ពុជាវិញរបស់ស្ដេច សីហនុ ដោយព្រះអង្គឃើញថាមានសភាពកាន់តែធ្ងន់ធ្ងរខ្លាំង
ឡើង ។ ខិតប័ណ្ណប្រកាសប្ដឹងបរិហារការប្រមូលស្រូវ និងអំពើហឹង្សារបស់ពួកទាហាននិងតិះតៀននយោ
បាយនិយមអាមេរិករបស់ លន់ នល់ ។ ថ្ងៃទី ១១ មហាបាតុកម្មដ៏ធំមួយនៅទីក្រុងភ្នំពេញរៀបចំដោយពួក
ឆ្វេងនិយមដែលមាន ខៀវ សំផន ជាមេ និងពួកឆ្វេងនិយមនៅក្នុងគណបក្សសង្គម។ មានការទាមទារអោយ