skip to main |
skip to sidebar
๑. การยึดถือเหตุผล๒. การเน้นความสำคัญของปัจเจกบุคคล๓. การถือรัฐเป็นเครื่องมือของประชาชน
๔. การอาศัยความสมัครใจเป็นใหญ่
๕. การยึดกฏเหนือกฏ
๖. การเน้นความสำคัญของวิธีการ
๗. การถือความเห็นพ้องต้องกันเป็นหลักมนุษย์สัมพันธ์
๘. การถือสมภาพ หรือความเท่าเทียมกันขั้นมูลฐานของมนุษย์
หลักประชาธิปไตย คือการให้อำนาจแก่ประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน การให้อำนาจทั้งทางนิติบัญญัติ การบริหาร และด้านตุลาการ หลักการสำคัญของระบอบการเมืองที่ได้รับความศรัทธาเลื่อมใสจากประคมโลก อย่างแพร่หลายมากที่สุดในปัจจุบันซึ่งประกอบด้วยหลักสำคัญ ๕ ประการ คือ
๑ หลักอำนาจอธิปไตยเป้นของประชาชน (Populor Soveregnty)
๒ หลักเสรีภาพ (Liberty)
๓ หลักความเสมอภาค (Equality)
๔ หลักการปกครองโดยกฏหมาย (Rule of law)
๕ หลักเสียงข้างมาก (Majority rule)
១. សេរីភាពក្នុការនិយាយស្ដី សរសេរ ឃោសនា២. សេរីភាពក្នុងការគោរពជឿសាសនា៣. សេរីភាពក្នុងការសមាគម ឬរួមក្រុម៤. សិទ្ធិក្នុងការរក្សាទ្រព្យសម្បត្តិ
៥. សិទ្ធិដែលបានការគ្រប់គ្រងដោយច្បាប់
៦. សិទ្ធិចំពោះបុគ្គល
១. ស្មើភាពក្នុងរឿងនយោបាយ២. ស្មើភាពចំពោះការបដិបត្តិតាមច្បាប់
៣. ស្មើភាពក្នុងឱកាស
៤. ស្មើភាពផ្លូវសេដ្ធកិច្ច
៥. ស្មើភាពក្នុងសង្គម